โครงการเครื่อข่ายชุมชนร่วมใจ ป้องกันภัยผลิตภัณฑ์สุขภาพ (บวร.ร)

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
โครงการเครื่อข่ายชุมชนร่วมใจ ป้องกันภัยผลิตภัณฑ์สุขภาพ (บวร.ร) by Mind Map: โครงการเครื่อข่ายชุมชนร่วมใจ ป้องกันภัยผลิตภัณฑ์สุขภาพ (บวร.ร)

1. จุดประสงค์

1.1. ลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ

1.1.1. ป้องกัน

1.1.2. จัดการ/แก้ปัญหา

1.2. ปรับพฤติกรรมด้านการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพ

1.2.1. ยา

1.2.2. อาหาร

1.2.3. เครื่องสำอาง

1.2.4. วัตถุอันตราย

1.2.5. เครื่องมือแพทย์

1.2.6. วัตถุเสพติด

1.3. ชุมชนเป็นศูนย์กลาง

1.3.1. บ้าน

1.3.2. วัด

1.3.3. โรงเรียน

1.3.4. โรงพยาบาล

2. ยาปลอดภัยในชุมชน

2.1. กลุ่มเป้าหมายเพื่อลงพื้นที่

2.1.1. 1.บ้าน

2.1.2. 2.วัด

2.1.3. 3.โรงเรียน/ศพด

2.2. ปัญหาการใช้ยาในพื้นที่

2.2.1. 1. ผู้ป่วยจิตเวช ไม่ทานยา/ขาดยา/ทานยาไม่ครบ/ ใช้ยาไม่ถูกต้อง ทำให้มีอาการคลุ้มคลั่ง

2.2.1.1. สาเหตุ

2.2.1.1.1. ความเชื่อเกี่ยวกับการทานยา

2.2.1.1.2. ปัญหาครอบครัว/ขาดการดูแลจากครอบครัว/ถูกทอดทิ้ง

2.2.1.1.3. หายาทานเอง

2.2.1.1.4. ปัญหาสุขลักษณะ

2.2.1.1.5. ยาเสพติด

2.2.1.2. แนวทางแก้ไข

2.2.1.2.1. บุคคลในครอบครัวช่วยดูแล

2.2.1.2.2. CG ช่วยดูแลและแนะนำการใช้ยา

2.2.1.2.3. อบรม CG เพิ่มเติมในเรื่องโทษของยา/อาหารที่ควรรับประทาน

2.2.1.2.4. อบรมผู้ที่ดูแลผู้ป่วย

2.2.1.2.5. การติดตามเครื่อข่าย/ผู้ดูแลอย่างต่อเนื่อง

2.2.1.3. กิจกรรม

2.2.1.3.1. อบรมให้ความรู้แก่ CG/ผู้นำชุมชน/อสม. แล้วส่งต่อความรู้ไปยังผู้ดูแลผู้ป่วย

2.2.1.3.2. (โอกาสต่อไป) แก้ปัญหาเกี่ยวกับคุณภาพชีวิต/ปัญหาครอบครัว - สามารถขอสนับสนุนจาก พมจ. เกี่ยวกับของบห้องน้ำ

2.2.2. 2. ศพด. ปัญหาความรู้เกี่ยวกับการใช้ยา

2.2.2.1. ปัญหา

2.2.2.1.1. ไม่ทราบสรรพคุณ

2.2.2.1.2. ขาดความรู้เกี่ยวกับการใช้ยา

2.2.2.2. แนวทางแก้ไข

2.2.2.2.1. ส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับการใช้ยา

2.2.3. 3. ห้องปฐมพยาบาลในโรงเรียนไม่ได้ใช้

2.2.3.1. สาเหตุ

2.2.3.1.1. ผู้ปกครองอาจไม่มีความเชื่อมั่น รับเด็กกลับบ้านทันทีเมื่อไม่สบาย

2.2.3.1.2. ขาดความรู้ในการใช้ยาเบื้องต้น เช่น ยาทำแผล

2.2.3.1.3. ขาดความรู้เรื่องการใช้ยาหรือการดูแลนักเรียนที่มีโรคประจำตัวเรื้อรัง เช่น หอบหืด

2.2.3.2. แนวทางแก้ไข

2.2.3.2.1. ส่งเสริมกิจกรรม อย.น้อย อย่างต่อเนื่อง

2.2.3.2.2. ส่งเสริมให้ความรู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น/และนักเรียนป่วยเรื้อรัง เช่น หอบหืด

2.2.4. 4. การจำหน่ายยาอันตรายในร้านชำ

2.2.4.1. สาเหตุ

2.2.4.1.1. ผู้ป่วยเรียกหายาที่ต้องการ

2.2.4.1.2. ไม่อยากเดินทางไปรักษาไกล

2.2.4.2. แนวทางแก้ไข

2.2.4.2.1. ร้านขายยาแนะนำเกี่ยวกับประเภทยาที่สามารถจำหน่ายได้

2.2.4.2.2. รพ.สต.ลงพื้นที่ติดตาม

2.2.5. 5. ปัญหาขาดยาของผู้ป่วยติดเตียง ในสถานการณ์ COVID-19

2.2.5.1. สาเหตุ

2.2.5.1.1. การเดินทางไปรับยานอกพื้นที่ห่างไกลทำได้ยาก

2.2.6. 6. ปัญหาเกี่ยวกับฉลากยา

2.2.6.1. สาเหตุ

2.2.6.1.1. ใช้ยาไม่ถูกต้อง

2.2.6.1.2. ฉลากยาไม่ชัดเจน

2.2.6.1.3. ตัวหนังสือเล็ก

2.2.6.1.4. ผู้ป่วยสูงอายุจำวิธีและขนาดการใช้ไม่ได้

2.2.6.2. แนวทางแก้ไข

2.2.6.2.1. สถานบริการปรับปรุงฉลาก

2.2.7. 7. การใช้ยาสมุนไพรในชุมชน

2.2.7.1. สาเหตุ

2.2.7.1.1. ผู้ป่วยหายาสมุนไพรใช้เอง ร่วมกับยาแผนปัจจุบัน หรือ ทานยาทดแทนยาแผนปัจจุบันที่ทานอยู่

2.2.7.1.2. ขาดความเชื่อมั่นในประสิทธิภาพยาแผนปัจจุบัน/ผลไม่ทันใจ

2.2.7.1.3. บอกต่อ

2.2.7.2. แนวทางแก้ไข

2.2.7.2.1. เน้นให้ความรู้กับแกนนำ

2.2.7.2.2. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการใช้ยาสมุนไพร

3. ถอดปัญหาจาก รพ.

3.1. คนไข้จิตเวชขาดยา

3.1.1. เป้าหมายคนไข้ใช้ยาถูกต้อง

3.1.2. มียาเพียงพอ

4. ผลลัพธ์

4.1. ชุมชนใช้ยาปลอดภัย

5. สรุปกิจกรรม

5.1. อบรม CG / ผู้นำชุมชน เรื่องการใช้ยาแผนปัจจุบัน ยาจิตเวช และยาสมุนไพร รวมถึงการรับประทานอาหารของผู้ป่วย

5.2. ติดตั้งตู้ยาสามัญประจำบ้านในวัด

5.3. จัดกิจกรรม อย. น้อยในโรงเรียน