แนวคิดพื้นฐานทางเภสัชวิทยาจลนศาสตร์ของยาและกลศาสตร์ของยา

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
แนวคิดพื้นฐานทางเภสัชวิทยาจลนศาสตร์ของยาและกลศาสตร์ของยา by Mind Map: แนวคิดพื้นฐานทางเภสัชวิทยาจลนศาสตร์ของยาและกลศาสตร์ของยา

1. เภสัชวิทยา

1.1. นศาสตร์ที่ศึกษาว่าเมื่อให้สารเข้าสู่ร่างกาย สารต่างๆ มีผลต่อสิ่งมีชีวิตอย่างไร โดยใช้กระบวนการทางเคมีต่างๆ โดยเฉพาะการจับกับโมเลกุลที่ใช้ในการควบคุมกระบวนการในสิ่งมีชีวิต ส่งผลให้มีการกระตุ้นหรือยับยั้งกระบวนการต่างๆ ในสิ่งมีชีวิต

1.2. พยาบาล ศาสตร์ทางเภสัชวิทยาที่ควรให้ความสนใจเป็นพิเศษ

1.2.1. เภสัชวิทยาทางการแพทย์ (Medical Pharmacology) เป็นศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับการใช้สารในการป้องกัน วินิจฉัย และรักษาโรค

1.2.2. พิษวิทยา (Toxicology) Toxicology) ) เป็นสาขาหนึ่งของเภสัชวิทยา ศึกษาเกี่ยวกับอาการไม่พึงประสงค์ต่าง ๆ ของสารเคมีที่มีต่อสิ่งมีชีวิต

1.3. ความสาคัญของเภสัชวิทยาต่อพยาบาล

1.3.1. ทาให้มีความรู้เกี่ยวกับยา

1.3.2. ความเข้าใจในการให้ยาแก่ปิ

1.3.3. มีความรู้เพื่อสังเกตผลที่เกิดขึ้นจากการใช้ยา

1.3.4. ให้คาแนะนาจะปัญญาเกินควรกับแผน

2. เภสัชจลนศาสตร์Pharmacokinetics

2.1. ประโยชน์ของเภสัชจลนศาสตร์

2.1.1. • พื้นฐานความรู้เรื่องการนายาไปใช้

2.1.2. • ส่งผลต่อการตัดสินใจในการใช้ยาที่ถูกต้อง

2.1.3. • ช่วยให้การใช้ยาเป็นไปตามวัตถุประสงค์และมีประสิทธิภาพ

2.1.4. • ส่งเสริมให้การกาหนด และ/หรือ ปรับหลักการให้ยาทาได้ดียิ่งขึ้น โดยมุ่งเน้นให้เหมาะสมกับแต่ละบุคคล

2.2. คือ การศึกษาว่าเมื่อยาเข้าสู่ร่างกายแล้วเกิดอะไรขึ้นกับยาบ้างหรือ การที่ร่างกายไปทำอะไรกับยาบ้าง

2.3. กระบวนเข้ามาเกี่ยวข้อง

2.3.1. 1. การดูดซึม(Absorption)

2.3.1.1. หมายถึงการที่ยาสามารถผ่านจากตาแหน่งที่ให้ยาเข้าสู่กระแสโลหิตได้

2.3.1.2. การที่ยาผ่านจากตาแหน่งทีให้ยา โดยผ่านเมมเบรน เช่นผิวหนัง เยื่อบุหรือผนังเส้นเลือด สารหรือยาที่มีคุณสมบัติละลายได้ดีในไขมันจะซึมผ่านเมมเบรนได้ดีกว่าสารที่มีคุณสมบัติละลายได้ดีในน้า

2.3.1.3. ปัจจัยที่มีผลต่อการดูดซึมยา

2.3.1.3.1. –ตัวยา: ขนาดโมเลกุล วิธีให้ยา ความเข้มข้น รูปแบบของ การละลายตัว การแตกตัวของยา

2.3.1.3.2. –ผู้ป่วย: การหมุนเวียนของเลือด พื้นที่ผิวของอวัยวะสาหรับการดูดซึมยา

2.3.1.3.3. –อิทธิพลของสิ่งแวดล้อม: สภาพอากาศ

2.3.1.4. การบริหารยา(Drug Administration)

2.3.1.4.1. การบริหารยาคือวิธีการต่างๆในการให้ยาเข้าไปร่างกายของผู้ป่วย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ

2.3.2. 2. การกระจายยา (Distribution)

2.3.2.1. การกระจายตัวของยา

2.3.2.1.1. การกระจายของโมเลกุลของยาจากระบบไหลเวียนเลือดเข้าสู่อวัยวะ เป้าหมายต่างๆ ของร่างกาย

2.3.2.1.2. • ยาจะออกจากหลอดเลือดไปสู่ของเหลวภายนอกเซลและเข้าสู่เซลล์อวัยวะต่างๆ ได้ตามคุณสมบัติของยาแต่ละชนิด

2.3.2.1.3. • เลือด ไม่ใช่บริเวณที่ยาออกฤทธิ์ แต่เป็นส่วนลำเลียงยาไปยังอวัยวะเป้าหมาย

2.3.2.1.4. • ระดับยาในเนื้อเยื่อสมดุลกับระดับยาในเลือด

2.3.2.1.5. • เป็นกระบวนการผันกลับได้

2.3.2.2. การกระจายยาเเบ่งออกเป็น 3 ส่วน

2.3.2.2.1. 1.ส่วนที่เข้ารวมกับโปรตีนในเลือด แบบชั่วคราวเรียกว่า bound drug ทำให้โมเลกุลใหญ่ขึ้น จึงไม่สามารถผ่านผนังเส้นเลือดได้ ยาจะอยู่ในร่างกายได้นานกว่าปกติ

2.3.2.2.2. 2.ส่วนที่ไม่จับกับโปรตีน แต่ละลายอยู่ในน้าเลือด เรียกว่า free drug เป็นยาอิสระและเป็นส่วนที่ออกฤทธิ์ในการรักษา

2.3.2.2.3. 3.ส่วนสุดท้ายจะจับตัวกับเนื้อเยื่อของอวัยวะบางชนิด

2.3.2.3. ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการการะจายยา

2.3.2.3.1. 1.คุณสมบัติของยา

2.3.2.3.2. 2.การยอมให้ซึมผ่านของหลอดเลือดฝอย

2.3.2.3.3. 3. การจับของยากับโปรตีนในเลือดหรือในเนื้อเยื่อ การสะสมของยาในอวัยวะต่างๆ

2.3.2.3.4. 4. อัตราการไหลของเลือด การกระจายของยาเข้าสู่อวัยวะต่างๆ ขึ้นกับปริมาณเลือดที่ไหลไป อวัยวะนั้นๆ • เลือดหล่อเลี้ยงมาก หัวใจ ปอด ไต ตับ และสมอง • เลือดหล่อเลี้ยงปานกลางกล้ามเนื้อและผิวหนัง • เลือดหล่อเลี้ยงน้อย กระดูก ฟัน เอ็น และพังผืด

2.3.2.3.5. 5.Partition in Plasma and Tissue ยาบางชนิดมีลักษณะละลายในไขมันได้ดี สามารถซึมผ่านออกจากเลือดเข้าสู่อวัยวะได้.

2.3.2.3.6. 6. การยอมให้ยาซึมผ่านของโครงสร้างพิเศษ :BBB รก

2.3.3. 3.การเปลี่ยนนเเปลงยา Metabolism)

2.3.3.1. • กาหนดระยะเวลาการออกฤทธิ์ของยา

2.3.3.2. • อวัยวะที่ทาหน้าที่เปลี่ยนแปลงยาคือตับ

2.3.3.3. • อวัยวะอื่นๆได้แก่ ไต ปอด ผิวหนัง พลาสมา และทางเดินอาหารเป็นต้น

2.3.3.4. • การเกิดปฏิกิริยาที่ตับ มีเอนไซม์มาช่วย ทำให้ยาละลายน้ามากขึ้น ดังนั้นจึงง่ายต่อไต ในการขับยาออกจากร่างกาย

2.3.3.4.1. กระบวนการที่เอนไซม์ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ทำได้ 2ขั้นตอน

2.3.3.5. ผลการเปลี่ยนเเปลงยาในรา่งกาย

2.3.3.5.1. 1.ให้เป็นยาอีกตัวหนึ่งที่หมดประสิทธิภาพลง

2.3.3.5.2. 2.ให้เป็นยาอีกตัวหนึ่งที่มีประสิทธิภาพคล้ายคลึงกันหรือสูงขึ้นกว่าเดิม

2.3.3.5.3. 3. ให้เป็นยาอีกตัวหนึ่งเหมือนมากหรือมียาพิษต่อร่างกาย

2.3.3.6. ผลของการเปลี่ยนเเปลงยาในร่างกาย

2.3.3.6.1. 1. ยาถูกเปลี่ยนเป็นสารที่มีขั้วและละลายน้าได้ดีขึ้น

2.3.3.6.2. 2. ยาถูกขับถ่ายออกจากร่างกายได้เร็วขึ้น

2.3.3.6.3. 3. ค่าครึ่งชีวิตของยาสั้นลง

2.3.3.6.4. 4. ลดการสะสมของยา

2.3.3.6.5. 5. ฤทธิ์หรือระยะการออกฤทธิ์ของยาลดลงหรือเปลี่ยนแปลง

2.3.3.6.6. 6. ผลิตผลจากปฏิกิริยาอาจเป็นสารที่มีความเป็นพิษต่อร่างกาย

2.3.3.7. Prodrug

2.3.3.7.1. ยาบางชนิดถูกให้เข้าสู่ร่างกายในรูปที่ไม่มีฤทธิ์เนื่องจาก

2.3.3.8. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนเเปลงยา

2.3.3.8.1. ปัจจัยภายใน

2.3.3.8.2. ปัจจัยภายนอก

2.3.3.9. First pass effect การเปลี่ยนแปลงครั้งแรก

2.3.3.9.1. • ยาบางชนิดถูกเปลี่ยนแปลงโดยเอนไซม์ในผนังลำไส้เล็กเป็นบางส่วน ทำให้เหลือยาออกจากตับเข้าสู่กระแสเลือดจานวนน้อย ไม่เพียงพอที่จะออกฤทธิ์ได้

2.3.3.9.2. • ต้องให้ยาโดยการฉีดหรืออมใต้ลิ้น แต่บางอย่างให้ทางปากได้ แม้จะถูกเปลี่ยนแปลงก็ตาม

2.3.3.9.3. • การให้ยาที่มีfirst firstfirstfirst-pass อาจมีปัญหาในทางปฏิบัติคือ – การให้ยาทางปากต้องให้ด้วยขนาดสูงกว่าการให้โดยวิธีอื่นๆ มาก – การเปลี่ยนแปลงยาเมื่อให้โดยการกินอาจแตกต่างกันมากในผู้ป่วยแต่ละราย

2.3.4. 4. การกาจัดยา(Excretion)

2.3.4.1. การขับถ่ายยา

2.3.4.1.1. กระบวนการนี้จะเกิดขึ้นหลังจากที่ยาออกฤทธิ์ในร่างกายแล้ว

2.3.4.1.2. อวัยวะในการขับถ่ายยา ไต

2.3.4.1.3. อาจถูกขับออกทางปอด นำ้ดี นำ้ลาย เหงื่อ นำ้เชื่อ นำ้นม

2.3.4.1.4. ยาจะถูกขับออกได้ ต้องอยู่ในสภาพที่มีการละลายน้า

2.3.4.2. การขับถ่ายยาออกจากรา่งกาย

2.3.4.2.1. 1.ทางปัสสาวะ สาคัญที่สุดในร่างกาย เกิดขึ้นที่ไต จะขับยาที่ละลายน้าได้ดีออกมากับปัสสาวะ ยาส่วนมากจะถูกขับออกโดยวิธีนี้ เมื่อไตทางานผิดปกติ จึงก่อให้เกิดการสะสมยาจนมีระดับสูงจนเป็นพิษได้

2.3.4.2.2. 2.ทางนำ้ดี ยาที่อยู่ในนำ้ดีจะถูกหลั่งเข้าลำไส้เล็กและถูกขับออกทางอุจจาระโดยตรง ยาบางส่วนอาจถูกดูดซึมกลับเข้ากระแสเลือดทางช่องลำไส้เล็กทำให้ยาออกฤทธิ์ได้นานขึ้น

2.3.4.2.3. 3. ปอด เป็นอวัยวะที่สาคัญในการขับถ่ายยาที่อยู่ในรูปก๊าซ หรือยาที่อยู่ในเลือดซึ่งเป็นสารระเหยได้ที่อุณหภูมิเช่น ยาดมสลบ แอลกอฮอล์

2.3.4.2.4. 4.ทางอื่นๆได้แก่ ทางเหงื่อ น้าลาย น้าตา และน้านมแต่การขับถ่ายทางน้าหลั่งเหล่านี้ไม่ใช่วิธีกาจัดยาที่สาคัญของร่างกาย ยาบางชนิดสะสมในน้านม

3. การคำนวณยา

3.1. เป็นการคานวณอย่างง่ายๆโดยอาศัยพื้นฐานการบวก ลบ คูณ หาร จานวนต่างๆ

3.2. จำนวน หมายถึง ปริมาณของสิ่งต่างๆส่วนตัวเลข เป็นสัญลักษณ์ที่ใช้แทนจานวน

3.2.1. เลขอารบิกที่ใช้กันอยู่ทั่วไป เป็นระบบเลขฐานสิบ มีตัวเลขอยู่ทั้งหมด

3.2.2. เลขโรมัน ใช้อักษรภาษาอังกฤษแทนตัวเลข โดยใช้เพื่อแสดงจานวน มากกว่าการนามาใช้คานวณ

3.3. อัตราส่วมเเละสัดส่วน

3.3.1. อัตราส่วน เป็นปริมาณสัมพัทธ์ที่เกิดจากการเปรียบเทียบจานวนสองจานวน การเขียนอัตราส่วนสามารถเขียนได้หลายแบบ เช่น 1:2

3.3.2. สัดส่วน เป็นการเขียนแสดงการเท่ากันของอัตราส่วน สามารถเขียนได้หลายแบบ เช่น 1) A: B : =C : D, 2) A : B :: C D ) A : B :: C D )

3.3.3. ประโยชน์

3.3.3.1. คานวณเพื่อลด-ขยายสูตรตารับยาสาหรับการเตรียมยา

3.3.3.2. การปรับขนาดยาสาหรับผู้ป่วยเด็ก

3.4. การวัด ชั่ง ตวง 3 ระบบ

3.4.1. ระบบเมตริก

3.4.2. ระบบอะวัวร์ดูปัวส์ (Avoirdupois system) – 1 ounce=ounce= ounce= 28.35 28.35 gram gram – 1 grain = grain = grain = 65 mg mg – 1 fluidounce= 29.57 29.57 ml

3.4.3. ระบบอะโพธีคารีส์ (Apothecaries system) – 16 grain = grain = 1gram gram – 1 ounce= ounce= ounce= 31 gram gram

3.4.4. ระบบที่ใช้ในครัวเรือน – 1 ช้อนชา=5มิลลิลิตร -1 ช้อนโต๊ะ=15มิลลิลิตร – 1ถ้วย=240 มิลลิลิตร

3.5. การคำนวณขนาดใช้ยาสาหรับยาฉีด

3.5.1. solution:ยาน้าพร้อมฉีดโดยไม่ต้องผสม

3.5.2. Dry solid : :เป็นยาผงที่ฆ่าเชื้อแล้ว ก่อนฉีดต้องเติมตัวทาละลายลงไป

3.5.3. Sterile suspension: เป็นผงยาแขวนลอยอยู่ในน้ายาใช้ฉีดเข้ากล้ามหรือใต้ผิวหนัง

3.5.4. Dry solid with buffer: เป็นยาผงที่เป็นของแข็งผสมกับยาที่รักษากรดด่างของน้ายา

3.5.5. Emulsion: เป็นยาฉีดที่มีลักษณะเหมือนน้ามันฉีดเข้ากล้าม

3.6. หน่วยในการชั่ง ตวง วัด ทางเภสัชกรรม

3.6.1. หน่วยชั่ง วัด ตวง • ความยาว: 1 เมตร=100 ซม., 1 ซม.=10 มม., 1 มม.=1000 ไมครอน, 1ไมครอน=1000 mu • น้าหนัก 1 กก=1000 ก., 1 ก.=100 มก., 1 มก.=1000 มคก., 1 มคก.=1000นาโนกรัม • ปริมาตร 1ลิตร=1000 มล., 1 มล.=1000มคล

3.6.2. หน่วยปริมาตร •ลิตร Litre L 1L = 1000 ml (milliliter , cc.) •แกลลอน gallon gal 1gallon= 3,785 ml • ออนซ์ ounce fl.oz 1fl.oz = 30 ml • ช้อนชา teaspoon tsp 1 ช้อนชา = 5 ml • ช้อนโต๊ะ tablespoon tbsp 1 ช้อนโต๊ะ = 15 ml

3.6.3. หน่วยน้าหนัก • ไมโครกรัม microgram (μg) 1000 μg = 1 mg • มิลลิกรัม milligram (mg) 1000 mg = 1 g • เกรน grain ( gr.) 1 gr. 64.8 64.8 mg ( 60 mg) • กรัม gram (g )/ gm 1000 g = 1 kg • ปอนด์ pound( lb ) 1 lb = 450 gm) • กิโลกรัม kilogram ( kg) 1 kg = 2.20 2.20 lb = 1000 gm

4. ยา

4.1. ยาหมายถึงสารใดๆ ก็ตามเมื่อให้เข้าสู่ร่างกาย ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงระบบการทางานของร่างกายมีประโยชน์ใช้ในการรักษา ป้องกัน วินิจฉัยโรคต่างๆ

4.2. การเปลี่ยนแปลง

4.2.1. 1.ผลทางการรักษาคือผลที่ผู้ให้ยาต้องการให้เกิดขึ้น

4.2.2. 2. ผลคือผลที่ผู้ให้ยาไม่ให้มี

4.3. การตั้งชื่อยา Drug Nomenclature

4.3.1. 1.ชื่อทางเคมี (Chemical Name ชื่อที่แสดงลักษณะสูตรโครงสร้างทางเคมีของยา ชื่อนี้จะค่อนข้างยาว เรียกยาก จายาก ใช้ในขั้นตอนการสังเคราะห์และวิจัยในห้องทดลอง

4.3.2. 2. ชื่อสามัญ Generic Name or Non proprietary Name ชื่อที่ใช้เรียกอย่างเป็นทางการ หรือชื่อสากลของยาเป็นชื่อที่รู้จักแพร่หลายกว่าชื่อทางเคมี

4.3.3. 4. Official Name เป็นชื่อที่ในเภสัชตำรับ ส่วนมากมักเป็นชื่อเดียวกับชื่อสามัญ ใช้เมื่อเภสัชตารับยอมรับให้ใช้อย่างเป็นทางการ

4.3.4. 5. International Nonproprietary Name (INN)เป็นชื่อที่องค์การอนามัยโลก (WHO) ประกาศให้ใช้

4.3.5. 3. ชื่อทางการค้า Trade Name or Proprietary Name เป็นชื่อที่บริษัทผู้ผลิตยาตั้งขึ้นเพื่อการค้า โดยจะตั้งชื่อจำเพาะของผลิตภัณฑ์ของตน เป็นเอกลักษณ์ ง่ายต่อการจดจา สะดวกต่อการขาย ห้ามซ้ากัน ต้องจดทะเบียนเครื่องหมายการค้า ชื่อการค้าจะมีเครื่องหมาย ® กากับไว้หลังชื่อ

4.4. แหล่งกาเนิดยา

4.4.1. 1.ยาที่ได้จากธรรมชาติ ได้จากแร่ธาตุ พืชและสัตว์

4.4.2. 2. ยาที่ได้จากการกึ่งสังเคราะห์ทางเคมี เป็นยาที่พัฒนาจากการนาสารจากธรรมชาติมาดัดแปลงโครงสร้างทางเคมี มีคุณสมบัติที่ดีกว่าเดิม มีความเฉพาะเจาะจงและระยะเวลาการออกฤทธิ์มากขึ้น

4.4.3. 3. ยาที่ได้จากการสังเคราะห์ทางเคมี ยาส่วนใหญ่ที่ใช้ในปัจจุบันได้จากการสังเคราะห์ทางเคมี โดยเลียนแบบสารบริสุทธิ์ที่ได้จากธรรมชาติ เพื่อผลิตในปริมาณมากลดต้นทุนการผลิต

4.4.4. 4. ยาชีววัตถุ การพัฒนายาใหม่ๆโดยใช้เทคโนโลยีทางชีวภาพ เพื่อให้เกิดยาที่ออกฤทธิ์ได้อย่างเฉพาะเจาะจง ได้ประสิทธิภาพในการรักษาที่ดีและมีผลข้างเคียงใน การรักษาน้อย

4.5. การให้ยาเข้าสู่ร่างกาย

4.5.1. –ส่วนใหญ่เป็นการให้ยาห่างจากบริเวณยาออกฤทธิ์

4.5.2. –ยามีคุณสมบัติที่สามารถขนส่งจากบริเวณที่ให้ยา ไปยังบริเวณที่ยาออกฤทธิ์

4.5.3. –หลังจากยาจับกับตัวรับ และให้ผลการรักษาแล้ว

4.5.4. –ยาถูกทาให้หมดฤทธิ์และกาจัดออกจากร่างกาย

5. เภสัชจลนศาสตร์

5.1. เป็นการศึกษายาที่มีผลต่อร่างกาย ความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มข้นของยาในตาแหน่งที่มีการออกฤทธิ์ในร่างกาย และการตอบสนองต่อการรักษา

5.2. การออกฤทธิ์เเละพิษของยา

5.2.1. ออกฤทธิ์โดยไม่ผ่านตัวรับ receptor ยาจะทาปฏิกิริยาเคมีกับสารในร่างกายแล้วเกิดผลรักษาทันที

5.2.2. ออกฤทธิ์โดยผ่านตัวรับ ในร่างกายของเราจะมีตัวรับหลายชนิด ยาจะเลือกจับกับตัวรับอย่างเฉพาะเจาะจเกิดเป็นสารประกอบ สารประกอบที่เกิดขึ้นทำให้เกิดผลทางสรีรวิทยาของร่างกาย

5.2.2.1. ตัวรับ

5.2.2.1.1. มักเป็นโปรตีนโมเลกุลขนาดใหญ่ที่อยู่บนเซลล์เมมเบรนหรืออยู่ภายในเซลล์

5.2.2.1.2. ตัวกลางก่อให้เกิดความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มข้นของยากับความแรงตอบสนอง

5.2.2.1.3. ยาเข้าสู่ร่างกายจะเกิดการ จับกับตัวรับและกลายเป็น drug -receptor complex

5.2.2.1.4. • โครงสร้างเคมีของยา สำคัญมากต่อการออกฤทธิ์ มีผลต่อความสามารถในการชอบจับกับตัวรับ (affinity) การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างโมเลกุลยาอาจทาให้มีฤทธิ์เพิ่ม ลด ฤทธิ์ยาไป หรือ เปลี่ยนฤทธิ์หนึ่งเป็นอย่างอื่น

5.2.2.1.5. สารที่จับกับตัวรับ

5.3. ความสัมพันธ์ระหว่างขนาดของยาและการตอบสนองทางคลินิก

5.3.1. • Potency – ความแรงของยา ใช้เปรียบเทียบระหว่างยาต่างชนิด ยาที่มี potency สูงต้องการปริมาณตejๆ –ใช้Graded dose response curveresponse curve

5.3.2. • Efficacy ความสามารถในการทาให้เกิดการตอบสนองของเซลล์หรือร่างกาย

5.3.3. Quantal dose -effective relationship

5.3.3.1. Median effective dose(ED 50 ) – ขนาดของยาที่ทาให้กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 50มีการตอบสนองต่อยาตามที่กาหนดไว้

5.3.3.2. Median toxic dose(TD 50 ) – ขนาดของยาที่ทาให้กลุ่มตัวอย่างเกิดพิษร้อยละ 50

5.3.3.3. • Median lethal dose(LD 50 ) – ขนาดของยาที่ทาให้กลุ่มตัวอย่างตายร้อยละ 50

5.3.3.4. Therapeutic index(TI หรือ Therapeutic window)

5.3.3.4.1. ช่วงที่ให้ผลในการรักษา ตัวเลขที่บ่งให้ทราบถึงอันตรายการใช้ยา

5.3.3.4.2. คำนวณจากอัตราส่วนของขนาดความเป็นพิษต่อขนาดที่ใช้รักษา LD 50 /ED 50

5.3.3.4.3. แคบแสดงว่าขนาดของยาที่ให้ผลในการรักษาและขนาดที่ทำให้เกิดพิษมีค่าใกล้เคียงกัน ต้องระมัดระวังในการใช้ยา

5.3.3.4.4. ถ้าสูงมีความปลอดภัยมากกว่าที่มีค่าต่า

5.3.3.5. Margin of safety ขนาดยาที่แตกต่างกันระหว่างขนาดที่ก่อให้เกิดอันตรายกับขนาดที่ใช้รักษานั่นคือ LD 50 -ED 50

5.4. สรุป เภสัชพลศาสตร์

5.4.1. กลไกการออกฤทธิ์ของยา

5.4.2. การดาเนินไปของยาเมื่อเข้าสู่ร่างกาย

5.4.3. ขนาดของยา ความเข้มข้นของยา และตัวรับ

5.4.4. ตัวรับทางเภสัชวิทยา ที่ทำปฏิกิริยาทางเคมีกับยาเมื่อเข้าสู่ร่างกาย

5.4.5. ปัจจัยที่ทาให้เกิดความแตกต่างในการออกฤทธิ์ของยา