1. Cholecystokinin ( สร้างจากลำไส้เล็กส่วนดูโอดินัม )
1.1. กระตุ้นการบีบตัวของถุงน้ำดี และตับอ่อนให้หลั่งเอนไซม์
1.2. เป้าหมาย : ถุงน้ำดี และตับอ่อน
2. ฮอร์โมนที่ควบคุมและหลั่งฮอร์โมนชนิดอื่นๆ
2.1. ฮอร์โมนจากไฮโพทาลามัส
2.1.1. Gonadotrophin - Releasing H. ; GnRH
2.1.1.1. ควบคุมการสร้าง และหลั่ง Gn จากต่อมใต้สมองส่วนหน้า
2.1.1.2. เป้าหมาย : ต่อมใต้สมองส่วนหน้า
2.1.2. Thyroid - Releasing H. ; TRH
2.1.2.1. กระตุ้นต่อมใต้สมองส่วนหน้าให้สร้าง และหลั่ง TSH
2.1.2.2. เป้าหมาย : ต่อมใต้สมองส่วนหน้า
2.1.3. Corticotropin - Releasing H. ; CRH
2.1.3.1. กระตุ้นต่อมใต้สมองส่วนหน้าให้สร้าง และหลั่ง ACTH
2.1.3.2. เป้าหมาย : ต่อมใต้สมองส่วนหน้า
2.1.4. Growth H. - Releasing H. ; GHRH
2.1.4.1. กระตุ้นการสร้าง และหลั่ง GH จากต่อมใต้สมองส่วนหน้า
2.1.4.2. เป้าหมาย : ต่อมใต้สมองส่วนหน้า
2.1.5. Growth H. - Inhibiting H. ; GHIH
2.1.5.1. ยับยั้งการสร้าง และหลั่ง GH จากต่อมใต้สมองส่วนหน้า
2.1.5.2. เป้าหมาย : ต่อมใต้สมองส่วนหน้า
2.1.6. Dopamine / Prolactin - Inhibiting H. ; PIH
2.1.6.1. ยับยั้งสร้าง และหลั่ง prolactin จากต่อมใต้สมองส่วนหน้า
2.1.6.2. เป้าหมาย : ต่อมใต้สมองส่วนหน้า
2.1.7. Antidiuretic H. ; ADH / Vasopressin
2.1.7.1. ควบคุมดุลยภาพของน้ำ
2.1.7.2. เป้าหมาย : ท่อหน่วยไต และหลอดเลือดอาร์เทอรีหดตัว
2.1.8. Oxytocin
2.1.8.1. กระตุ้นกล้ามเนื้อเรียบที่มดลูกบีบตัว และกระตุ้นการหลั่งน้ำนม
2.1.8.2. เป้าหมาย : กล้ามเนื้อมดลูก และกล้ามเนื้อรอบๆต่อมน้ำนม
2.2. ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนหน้า
2.2.1. Gonadotrophin ; Gn —> Follicle - stimulating H. ; FSH / Luteinizing H. ; LH
2.2.1.1. กระตุ้นให้สร้างฮอร์โมนเพศ
2.2.1.2. เป้าหมาย : รังไข่ และอัณฑะ
2.2.2. Thyroid - Stimulating H. ; TSH
2.2.2.1. กระตุ้นให้หลั่งฮอร์โมนเป็นปกติ
2.2.2.2. เป้าหมาย : ต่อมไทรอยด์
2.2.3. Adrenocorticotropin H. ; ACTH
2.2.3.1. กระตุ้นให้หลั่งฮอร์โมนเป็นปกติ
2.2.3.2. เป้าหมาย : ต่อมหมวกไตส่วนนอก
3. ฮอร์โมนที่ควบคุม และเกี่ยวข้องกับเมแทบอลิซึม
3.1. กลุ่มฮอร์โมนจากต่อมไทรอยด์
3.1.1. Thyroxine
3.1.1.1. ควบคุมอัตราการเมแทบอลิซึม
3.1.1.2. เป้าหมาย : ร่างกาย
3.2. กลุ่มฮอร์โมนจากต่อมหมวกไต
3.2.1. Glucocorticoids ( สร้างจากต่อมหมวกไตภายนอก )
3.2.1.1. ควบคุมการเมแทบอลิซึมของคาร์โบไฮเดรต
3.2.1.2. เป้าหมาย : ระบบหมุนเวียนเลือด และตับ
3.2.2. Epinephrine / Adrenaline / Norepinephrine / Noradrenaline
3.2.2.1. กระตุ้นให้เพิ่มการสลายไกลโคเจน / กระตุ้นให้หัวใจเต้นเร็ว
3.2.2.2. เป้าหมาย : หัวใจ, กล้ามเนื้อโครงร่าง และกล้ามเนื้อเรียบ
3.3. กลุ่มฮอร์โมนจากตับอ่อน
3.3.1. Insulin
3.3.1.1. ลดระดับน้ำตาลในเลือดให้ปกติ
3.3.1.2. เป้าหมาย : เลือด
3.3.2. Glucagon
3.3.2.1. กระตุ้นการสลายตัวของไกลโคเจน ( เพิ่มระดับน้ำตาล )
3.3.2.2. เป้าหมาย : ตับ และกล้ามเนื้อ
4. ฮอร์โมนที่ควบคุมการสืบพันธุ์ และการเจริญเติบโต
4.1. กลุ่มฮอร์โมนจากอวัยวะสืบพันธุ์
4.1.1. Testosterone ( สร้างจากอัณฑะ —> เซลล์เลย์ดิก )
4.1.1.1. ทำให้เพศชายมีความสามารถในการสืบพันธ์ุ / ควบคุมลักษณะของเพศชาย
4.1.1.2. เป้าหมาย : อวัยวะเพศ และลักษณะร่างกาย
4.1.2. Estrogen ( สร้างจากรังไข่ —> ฟอลลิเคิล / คอร์ปัสลูเทียม )
4.1.2.1. ทำให้เพศหญิงมีความสามารถในการสืบพันธ์ุ และมีลักษณะเพศหญิง
4.1.2.2. เป้าหมาย : อวัยวะเพศ และลักษณะร่างกาย
4.2. กลุ่มฮอร์โมนจากต่อมหมวกไตส่วนนอก
4.2.1. Androgen / Estrogen
4.2.1.1. เร่ง การเจริญเติบโตของร่างกายไวขึ้นเล็กน้อย
4.2.1.2. เป้าหมาย : อวัยวะเพศ และร่างกาย
4.3. กลุ่มฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนหน้า
4.3.1. โกนาโดโทรฟิน ; FSH / LH
4.3.1.1. กระตุ้นการเจริญของรังไข่ และอัณฑะ
4.3.1.2. เป้าหมาย : รังไข่ และอัณฑะ
4.3.2. Growth H. ; GH / Somatotrophim, Somatotrophic H. ; STH
4.3.2.1. ควบคุมการเจริญเติบโตของร่างกาย
4.3.2.2. เป้าหมาย : ตับ
4.4. กลุ่มฮอร์โมนจากต่อมไทรอยด์
4.4.1. Thyroxine
4.4.1.1. ควบคุมการเจริญเติบโตของร่างกาย และการเจริญของสมอง
4.4.1.2. เป้าหมาย : ร่างกาย & สมอง
5. ฮอร์โมนที่ทำหน้าที่อื่นๆ
5.1. Melatonin ( สร้างจากต่อมไพเนียล )
5.1.1. ยับยั้งการเจริญเติบโตของอวัยวะสืบพันธ์ุ
5.1.2. เป้าหมาย : อวัยวะสืบพันธ์ุ / สมอง
5.2. Oxytocin ( สร้างจากต่อมใต้สมองส่วนหลัง )
5.2.1. ทำให้กล้ามเนื้อเรียบที่มดลูกบีบตัว
5.2.2. เป้าหมาย : มดลูก
5.3. Prolactin ( สร้างจากต่อมใต้สมองส่วนหน้า )
5.3.1. กระตุ้นต่อมน้ำนมให้สร้างนม
5.3.2. เป้าหมาย : ต่อมน้ำนม
5.4. Endorphin ( สร้างจากต่อมใต้สมองส่วนหน้า )
5.4.1. ระงับความเจ็บปวด และเพิ่มความตื่นตัว
5.4.2. เป้าหมาย : สมอง
5.5. Erythropoietin ( สร้างจากไต )
5.5.1. กระตุ้นการสร้างเซลล์เม็ดเลือดแดงจากไขกระดูก
5.5.2. เป้าหมาย : ไขกระดูก
5.6. human Chorionic Gonadotrophin ; hCG ( สร้างจาก placenta )
5.6.1. กระตุ้นคอร์บีสลูเทียมในรังไข่ให้เจริญต่อ และสร้างโพรเจคเทอโรนเพิ่มขึ้น
5.6.2. เป้าหมาย : รังไข่
5.7. Thymosin ( สร้างจากเซลล์บางส่วนของ thumus )
5.7.1. การสร้างภูมิคุ้มกันในร่างกาย
5.7.2. เป้าหมาย : ลิมโฟไซต์ชนิด T / T cell ในไทมัส
5.8. Gastrin ( สร้างจากกระเพาะอาหาร )
5.8.1. กระตุ้นการหลั่งเอนไซม์ และกรดไฮโดรคลอริก
5.8.2. เป้าหมาย : กระเพาะอาหาร
5.9. Secretin ( สร้างจากลำไส้เล็กส่วนดูโอดินัม )
5.9.1. กระตุ้นให้ตับอ่อนให้หลั่งโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต
5.9.2. เป้าหมาย : ลำไส้เล็ก
6. สมบัติทั่วไป
6.1. สารที่ผลิตจากต่อมไร้ท่อ
6.2. สารที่พบได้ในเลือด และมีปริมาณที่ต่ำมาก
6.3. ฮอร์โมนแต่ละตัวจะมีอวัยวะที่ฮอร์โมนแสดงผลเรียกว่า อวัยวะเป้าหมาย (target organ) ส่วนอวัยวะอื่นๆ จะไม่มีผลในการกระตุ้น เช่น ฮอร์โมนอีสโทรเจน (estrogen)
7. หน้าที่
7.1. ควบคุมและเร่งการเจริญเติบโต (Growth) ตลอดไปจนถึงการเปลี่ยนแปลง กระตุ้นให้อวัยวะต่างๆ ทำงานไปอย่างมี ประสิทธิภาพ เพื่อให้เจริญเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่สมบูรณ์
7.2. ควบคุมและรักษาสภาพแวดล้อมภายในร่างกายให้เป็นปกติ โดยฮอร์โมน จะช่วยควบคุมการใช้พลังงานของร่างกาย ควบคุมเมแทบอลิซึมของสารอาหาร ประเภท คาร์โบไฮเดรต ไขมัน โปรตีน ตลอดไปจนถึงพวกแร่ธาตุและเกลือแร่ต่างๆ ฮอร์โมนในกลุ่มนี้ ได้แก่ อินซูลิน (insulin) คอร์ติซอล (cortisol)
8. ฮอร์โมนที่ควบคุมการรักษาดุลยภาพของน้ำ และแร่ธาตุ
8.1. ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนหลัง
8.1.1. ADH
8.1.1.1. ควบคุมดุลยภาพของน้ำ
8.1.1.2. เป้าหมาย : ไต และหลอดเลือด
8.2. ฮอร์โมนจากต่อมหมวกไหมส่วนนอก
8.2.1. Mineralocorticoids
8.2.1.1. ควบคุมดุลยภาพของน้ำ และแร่ธาตุ
8.2.1.2. เป้าหมาย : ร่างกาย
8.2.2. Aldosterone
8.2.2.1. ควบคุมการทำงานของไตในการดูดน้ำกลับ และ Na
8.2.2.2. เป้าหมาย : ไต
8.3. ฮอร์โมนจากต่อมไทรอยด์ และพาราไทรอยด์
8.3.1. Calcitonin ( C cell )
8.3.1.1. กระตุ้นการสะสม Ca ที่กระดูก , ลดการดูดกลับ Ca ที่ไต
8.3.1.2. เป้าหมาย : กระดูก, ไต และลำไส้เล็ก
8.3.2. Parathormone / Parathyroid H. ; PTH
8.3.2.1. ควบคุมสมดุลของ Ca ในเลือดให้ปกติ
8.3.2.2. เป้าหมาย : กระดูก, ไต และลำไส้เล็ก