LoRa (Long Range)

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
LoRa (Long Range) by Mind Map: LoRa (Long Range)

1. LoRa คืออะไร

1.1. เทคโนโนยีการสื่อสารไร้สายที่ใช้พลังงานต่ำ

1.2. ออกเเบบมาเพื่อใช้กับอุปกรณ์ IOT เเละ M2M

1.3. รองรับการสื่อสารในช่วงคลื่นความถี่ไม่เกิน 1 GHz สามารถส่งข้อมูลได้ในระยะไกล

1.4. และป้องกันสัญญาณรบกวนได้ดี

2. องค์ประกอบสำคัญของ LoRa

2.1. สื่อสารทางไกลระยะ 15 – 20 กิโลเมตร

2.2. มีช่องรับสัญญาณนับล้าน

2.3. มีอายุการใช้งานแบตเตอรี่ยาวนาน มากถึง 10 ปี

3. ส่วนประกอบของ LoRa Protocol Stack

3.1. เเบ่งออกเป็น 2 Layer

3.1.1. 1.) Physical layer

3.1.2. 2.) เลเยอร์ MAC

4. จุดเเข็งของ LoRa

4.1. - ระยะทางไกล

4.2. - ประหยัดพลังงาน

4.3. - รองรับปริมาณเครื่องลูกข่ายได้เยอะ

4.4. - ราคาถูก

5. องค์ประกอบของ LoRaWAN เน็ตเวอร์ก

5.1. สำรอง3ส่วนหลัก

5.1.1. 1.) อุปกรณ์ (End-devices)

5.1.1.1. เป็นอุปกรณ์พลังงานต่ำที่สื่อสารไปยังเกตเวย์ โดยไม่เจาะจงเกตเวย์ใดเกตเวย์หนึ่งโดยเฉพาะ (กรณีเกตเวย์มีมากกว่า 1 ตัว)

5.1.2. 2.) เกตเวย์ (Gateway)

5.1.2.1. ทำหน้าที่รับแพ็กเก็ตจากอุปกรณ์ LoRa (End-devices) เพื่อส่งต่อไปยัง (Network Server)

5.1.3. 3.) เน็ตเวิร์คเซิร์ฟเวอร์ (Network Server)

5.1.3.1. ทำหน้าที่กำจัดแพ็กเก็ตที่ซ้ำและส่งแพ็กเก็ตกลับไปยังอุปกรณ์ปลายทางเพื่อรองรับการใช้งานที่แตกต่างกัน

6. อุปกรณ์ใน LoRaWAN

6.1. แบ่งออกเป็น 3 คลาส

6.1.1. Class A จะเป็นการสื่อสารแบบสองทาง (Bi-directional) โดยการสื่อสาร uplink ในแต่ละครั้ง จะตามด้วยการสื่อสาร downlink ในช่วงเวลาสั้นๆอีก 2 ครั้ง การสื่อสาร downlink ในรอบถัดไปต้องรอ uplink ทำงานอีกครั้ง ซึ่งทำให้การทำงานของ Class A ใช้พลังงานในการทำงานน้อยที่สุด

6.1.2. คลาส B เป็นข้อความแบบสองทาง (แบบสองทิศทาง) จากตูน (Beacon) พูดอยากขอเย้ เซิร์ฟเวอร์เครือข่าย เวลาใด ๆ ที่อุปกรณ์ End-Device ยอมรับข้อมูลรับข้อมูลแนะนำ อุปกรณ์ End-device ข้อมูล (หน้าต่างรับ) เข้าถึง

6.1.3. Class C เป็นการสื่อสารแบบสองทาง (Bi-directional) จะใช้วิธีกำหนดช่วงเวลารับข้อมูลแบบต่อเนื่อง (Continuous) ทำให้อุปกรณ์ปลายทาง End-device อยู่ในสภาวะทำงานอยู่ตลอดเวลา จึงทำให้ใช้พลังงานมากที่สุด