1. ประโยชน์ที่ได้รับจากการศึกษา TA
1.1. ช่วยให้เข้าใจพฤติกรรมของตนเอง
1.2. ช่วยให้ติดต่อสัมพันธ์กับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1.3. ช่วยให้พฤติหรรมของบุคคลปรับปรุงและเปลี่ยนแปลงง่ายข้ึน
1.4. ช่วยในการแก้ปัญหา
1.5. ช่วยให้ทีมงานมีประสิทธิภาพ
1.6. ง่ายที่จะศึกษาและทำความเข้าใจ
2. แนวคิดเกี่ยว TA และองค์ประกอบในการศึกษา TA
2.1. แนวคิดเกี่ยวกับ TA
2.1.1. สภาวะแห่งตน
2.1.1.1. สภาวะการเป็นพ่อแม่
2.1.1.1.1. สภาวะการเป็นพ่อแม่เมตตา
2.1.1.1.2. สภาวะการเป็นพ่อแม่ติเตียน
2.1.1.2. สภาวะการเป็นผู้ใหญ่
2.1.1.3. สภาวะการเป็นเด็ก
2.1.1.3.1. สภาวะการเป็นเด็กตามธรรมชาติ
2.1.1.3.2. สภาวะความเป็นเด็กสร้างสรรค์
2.1.1.3.3. สภาวะความเป็นเด็กปรับตัว
2.1.2. ความเอาใจใส่
2.1.2.1. รูปแบบของการเอาใจใส่
2.1.2.1.1. ความเอาใจใส่ทางบวก
2.1.2.1.2. ความเอาใจใส่ทางลบ
2.1.3. การติดต่อสื่อสาร
2.1.3.1. การติดต่อสื่อสารแบบคล้อยตาม
2.1.3.2. การติดต่อสื่อสารแบบขัดแย้ง
2.1.3.3. การติดต่อสื่อสารเเบบซ่อนเร้น
2.1.3.3.1. การติดต่อสื่อสารแบบซ่อนเร้นทางเดียว
2.1.3.3.2. การติดต่อสื่อสารแบบซ่อนเร้นสองทาง
2.1.4. จุดยืนแห่งชีวิตหรือทัศนะชีวิต
2.1.4.1. ฉันดี-คุณดี
2.1.4.2. ฉันดี-คุณด้อย
2.1.4.3. ฉันด้อย-คุณดี
2.1.4.4. ฉันด้อย-คุณด้อย
2.1.5. บทบาทชีวิต
2.1.5.1. หมายถึง แบบแผนการใช้ชีวิตที่บุคคลแสดงออกซ้ำแล้วซ้ำเล่า เป็นวิถีการดำเนินชีวิตของแต่ละคนที่ถูกวางแผนมาตั้งแต่เด็กๆ จนกลายเป็นลักษณะเฉพาะของแต่ละคน