1. 1.3 การเคลื่อนที่แบบเส้นตรงด้วยความเร่งคงที่
1.1. สมการเคลื่อนที่
1.2. การตกแบบอิสระ
1.2.1. จะเคลื่อนที่เป็นเส้นตรงที่มีความเร่งคงที่และมีทิศทางพุ่งเข้าสู้จุดศูนย์กลางของโลก เรีกยว่าความเร่งโน้มถ่วง
2. 1.2 กลศาสตร์การเคลื่อนที่
2.1. เวกเตอร์ตำแหน่ง
2.1.1. บอกตำแหน่งและทิศวัตถุ
2.2. ระยะกระจัด
2.2.1. บอกระยะและทิศของการเปลีย่นแปลงตำแหน่งของวัตถุ
2.3. ระยะทาง
2.3.1. บอกเส้นทางการเคลื่อนทราของวัคถุ
2.4. ความเร็ว
2.4.1. บอกการเปลี่ยนแปลงระยะการกระจัดต่อหนึ่งหน่วยเวลา
2.4.1.1. ความเร็วชั่วขณะ
2.4.1.2. คามเร็วเฉลี่ย
2.5. อัตราเร็ว
2.5.1. บอกขนาดการเปลีย่นแปลงความยาวของเส้นทางต่อหนึ่งหน่วยเวลา
2.6. ความเร่ง
2.6.1. บอกการเปลี่ยนแปลงความเร็วต่อหนึ่งหน่วยเวลา
2.6.1.1. ความเร่งชั่วขณะ
2.6.1.2. คามเร่งเฉลี่ย
2.7. ความเร่งประกอบ
2.7.1. พิจารณาความเร็วที่เปลีย่นทั้งขนาดและทิศทาง
3. 1.1 เวกเตอร์และคุณสมบัติของเวกเตอร์
3.1. การเท่ากันของเวกเตอร์
3.1.1. เวกเตอร์ที่มีขนาดและทิศทางเท่ากัน
3.2. เวกเตอร์หนึ่งหน่วย
3.2.1. เวกเตอร์ที่มีขนาดเท่ากับหนึ่งหน่วย
3.3. การบวกและลบเวกเตอร์
3.3.1. ใช้กฎของโคซายน์
3.3.2. ใช้กฎของซายน์
3.4. เวกเตอร์ประกอบ
3.4.1. เวกเตอร์ใด ๆอาจจะเกิดจาก2หรือ3เวกเตอร์มารวมกัน
3.5. การคูณกันของ 2 เวกเตอร์
3.5.1. ผลคูณเชิงสเกลาร์
3.5.2. ผลคูณเชิงเวกเตอร์
3.6. ผลคูณของ 3 เวกเตอร์
3.6.1. ผลคูณเชิงสเกลาร์
3.6.2. ผลคูณเชิงเวกเตอร์
4. 1.8 การดล
4.1. การชนแบบยืดหยุ่น
4.1.1. เป็นการชนที่ผลรวมของพลังงานจลน์ก่อนชนและหลังชนมีค่าเท่ากัน
4.2. การชนแบบไม่ยืดหยุ่น
4.2.1. เป็นการชนที่ผลรวมของพลังงานจลน์ก่อนชนและหลังชนมีค่าไม่เท่ากัน
5. 1.7 งาน พลังงานและกำลัง
5.1. พลังงานศักย์
5.1.1. พลังงานศักย์โน้มถ่วง
5.1.1.1. เป็นพลังงานที่เกิดกับวัตถุเมื่ออยู่ในสนามโน้มถ่วง
5.1.2. พลังงานศักย์ยืดหยุ่น
5.1.2.1. พลังงานที่เกิดกับวัสดุยืดหยุ่น เช่น สปริง
5.2. พลังงานจลน์
5.2.1. พลังงานที่อยู่ในรูปของการเคลื่อนที่
6. 1.6 การเคลื่อนที่แบบพาราโบลา
6.1. การเคลื่อนที่ในแนววิถีโค้ง เรียกวัตถุที่เคลื่อนที่แบบนี้ว่า โปรเจกไตล์
6.2. แยกลักษณะการเคลื่อนที่เป็นสองส่วน
6.2.1. แนวดิ่ง
6.2.2. แนวราบ