1. ปฏิกิริยาสะปอนนิฟิเคชัน
1.1. เบสเป็นตัวเร่ง
1.2. เป็นปฏิกิริยาไฮโดรไลซิสของเอสเทอร์
1.3. ได้เกลือของกรด และ แอลกอฮอล์
1.4. เดิมเรียกการเตรียมสบู่
1.5. เบส + ไขมัน
2. กลิ่นรสสังเคราะห์ กลิ่นน้ำมันระกำ
3. ฟอกจางสีได้ทั้งในที่มืดและที่สว่าง
4. ให้พลังงานต่ำ
5. สารตั้งต้นในการสังเคราะห์แอสไพริน(ปฏิกิริยาเอสเทอริฟิเคชั่น)
5.1. บรรเทาอาการปวด
5.2. ลดไข้
5.3. แก้อักเสบ
6. สมบัติของสารประกอบอินทรีย์
6.1. ภาวะกรดได้กรดคาร์บอกซิลิก + เกลือแอมโมเนีย
6.2. การละลาย
6.2.1. สารประกอบไฮโดรคาร์บอนไม่มีขั้ว หรือมีขั้วน้อย
6.2.2. ทิศทางของพันธะหักล้างกัน
6.2.3. สารที่มีขั้วใกล้เคียงกันจะละลายกันได้ดี
6.2.4. มีขั้วละลายกับมีขั้ว ไม่มีขั้วละลายกับไม่มีขั้ว
6.2.5. พันธะคู่ พันธะสาม มีขั้วของโมเลกุลเพิ่มขึ้น
6.3. จุดเดือดจุดหลอมเหลว
6.3.1. เพิ่มขึ้นตามจำนวนอะตอมของ C
6.3.2. โซ่ตรงจุดเดือดสูงกว่าโซ่กิ่ง
6.4. แงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล
6.4.1. แรงแผ่กระจายลอนดอน
6.5. สารประกอบอินทรีย์ที่มี C H O เป็นองค์ประกอบ
6.5.1. มีขั้วมากขึ้น
6.5.2. เกิดพันธะไฮโครเจนกับโมเลกุลของน้ำได้
6.5.3. ละลายน้ำได้น้อยลงเมื่อ C เพิ่มมากขึ้น
6.5.4. จุดเดือด
6.5.4.1. กิ่งเยอะจุดเดือดต่ำ
6.5.4.2. เกิดพันธะไฮโดรเจนมีจุดเดือสูงกว่าไม่เกิด
6.5.4.3. ขึ้นกับ
6.5.4.3.1. ขนาดโมเลกุล
6.5.4.3.2. สภาพขั้ว
6.5.4.3.3. แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล
6.6. สารประกอบอินทรีย์ที่มี C H N เป็นองค์ประกอบ
6.6.1. มีขั้ว
6.6.2. เกิดพันธะไฮโดรเจนกับน้ำได้
6.6.3. จุดเดือดเพิ่มขึ้นตามจำนวนอะตอมของ C
6.6.4. จุดเดือดสูงกว่าสารประกอบไฮโดรคาร์บอน
6.7. จุดเดือด/การละลายน้ำ ขึ้นอยู่กับหมู่ฟังก์ชั่น
6.7.1. หมู่ฟังก์ชั่นเดียวกันจุดเดือดเพิ่มขึ้นตามขนาดโมเลกุล
6.7.2. หมู่ฟังก์ชั่นเดียวกันละลายน้ำลดลงเมื่อมีขนาดโมเลกุลใหญ่ขึ้น
6.8. ขึ้นกับโครงสร้างที่เป็น โซ่ตรง โซ่กิ่ง และ แบบวง
7. ปฏิกิริยาเคมีของสารประกอบอินทรีย์
7.1. ปฏิกิริยาการเผาไหม้
7.1.1. สมบูรณ์
7.1.1.1. ไม่มีเขม่า
7.1.1.2. ได้ คาร์บอนไดออกไซด์ + น้ำ
7.1.2. ไม่สมบูรณ์
7.1.2.1. มีเขม่า
7.1.2.2. ได้ คาร์บอนมอนนอกไซด์ + น้ำ + คาร์บอนไดออกไซด์ + คาร์บอน
7.2. ปฏิกิริยาการฟอกจางสีของสารละลาย
7.2.1. การฟอกจางสีสารละลายโบรมีน
7.2.1.1. แอลเคน
7.2.1.1.1. ปฏิกิริยาการแทนที่
7.2.1.2. แอลคีน
7.2.1.2.1. ปฏิกิริยาการแทนที่
7.2.1.2.2. ปฏิกิริยาการเติม
7.2.1.3. แอลไคน์
7.2.1.3.1. ปฏิกิริยาการแทนที่
7.2.1.3.2. ปฏิกิริยาการเติม
7.2.1.3.3. ฟอกจางสีได้ทั้งในที่มืดและที่สว่าง
7.2.1.4. แอโรแมติกไฮโดรคาร์บอน
7.2.1.4.1. ไม่เกิดปฏิกิริยา
7.2.2. การฟอกจางสีสารละลายโพเทียสเซียมเปอร์แมงกาเนต
7.2.2.1. ไม่เกิดปฏิกิริยา
7.2.2.1.1. เกิดปฏิกิริยา
7.2.2.1.2. แอลเคน
7.2.2.1.3. แอโรแมติกไฮโดรคาร์บอน
7.3. ได้กรดคาร์บอกซิลิก + แอลกอฮอล์
7.3.1. เอสเทอร์ + น้ำ
7.3.1.1. เป็นปฏิกิริยาย้อนกลับของ ปฏิกิริยาเอสเทอริฟิเคชัน
7.4. ปฏิกิริยาไฮโดรไลซิสของเอสเทอร์
7.4.1. ผันกลับได้
7.4.2. กรดเป็นตัวเร่ง
7.5. ปฏิกิริยาการเกิดเอสเทอร์
7.5.1. กรดคาร์บอกซิลิก + แอลกอฮอล์
7.5.2. อุณหภูมิสูง
7.5.3. มีกลิ่น
7.5.4. ได้น้ำเป็นผลพลอยได้
7.5.5. เรียกว่า ปฏิกิริยาเอสเทอริฟิเคชัน
7.5.6. ผันกลับได้
7.6. ปฏิกิริยาการสังเคราะห์เอไมด์
7.6.1. กรดคาร์บอกซิลิก + แอโมเนีย/แอมีน
7.6.2. อุณหภูมิห้องได้ เกลือแอมโมเนียมคาร์บอกซิเลต
7.6.3. อุณหภูมิสูง ได้เอไมด์
7.6.4. คล้ายปฏิกิริยาเอสเทอร์ริฟิเคชัน
7.6.5. ปฏิกิริยาการควบแน่น
7.6.5.1. รวมตั้งแต่ 2 โมเลกุลเป็นโมเลกุลใหญ่ขึ้น
7.7. กรดเป็นตัวเร่ง
7.8. ปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสของเอไมด์
7.8.1. เกิดได้ทั้งในภาวะกรด และเบส
7.8.2. ภาวะเบส ได้เกลือคาร์บอกซิเลต + แอมโมเนีย
8. สารประกอบอินทรีย์ในชีวิตประจำวันและการนำไปใช้ประโยชน์
8.1. สตอรอยด์
8.1.1. โครงสร้าง
8.1.1.1. วง C ห้าเหลี่ยม ต่อกัน
8.1.1.2. วง C หกเหลี่ยม ต่อกัน
8.1.2. ประโยชน์
8.1.2.1. ทางการแพทย์
8.1.2.1.1. รักษาอาการ
8.2. สตีวิโอไซด์
8.2.1. ได้จากหญ้าหวาน
8.2.2. หวานกว่าน้ำตาลทราย
8.2.3. สารให้ความหวานแทนน้ำตาล
8.3. กรดซาลิซิลิก
8.3.1. เมทิลซาลิซิเลต
8.3.1.1. เมทานอล + กรดแอซิติก
8.3.1.2. บรรเทาอาการปวดกล้ามเนื้อ
8.4. พาราควอต
8.4.1. สารกำจัดวัชพืช
8.4.2. เป็นพิษสูง
8.5. ไบโอดีเซล
8.5.1. สารประกอบเอสเทอร์
8.5.1.1. ปัจจุบันเลิกใช้ในยุโรปและอเมริกาไทยพิจารณา
8.5.2. ไขมัน + แอลกอฮอล์
8.5.3. พลังงานทดแทน
8.5.4. B5 คือ ไบโอดีเซล + น้ำมันดีเซล = 5:95
8.5.5. B100 คือ ไบโอดีเซล 100 ส่วน
8.6. ตัวทำละลายในอุตสาหกรรม
8.6.1. เฮกเซน
8.6.1.1. ล้างไขมัน
8.6.1.2. สกัดสารออกฤทธิ์จากสมุนไพร
8.6.1.3. ไม่มีขั้ว
8.6.1.4. จุดเดือดต่ำ
8.6.1.5. ระเหยง่าย
8.6.2. แอซีโตน
8.6.2.1. ตัวทำลายในการล้าง
8.6.2.2. มีขั้วน้อย
8.6.2.3. ระเหยง่าย
8.6.3. เมทานอล
8.6.3.1. ตัวทำละลายในสารประกอบอินทรีย์
8.6.3.2. มีขั้ว
9. alkane = -ane
10. แบบเส้น
11. พบได้ในโมเลกุลขนาดใหญ่หรือซับซ้อน
12. กรดคาร์บอกซิลิก
12.1. RCOOH
12.2. -COOH
13. สูตรโครงสร้างลิวอิส
13.1. แสดงพันธะอย่างเต็มรูปแบบ
13.2. แบบจุด
14. สูตรโครงสร้างของสารประกอบอินทรีย์
14.1. สูตรโครงสร้างแบบย่อ
14.1.1. ไ่ม่แสดงพันธะเดี่ยวระหว่างคาร์บอนกับไฮโดรเจน
14.2. สูตรโครงสร้างแบบเส้นพันธะ
14.2.1. ใช้เส้นแสดงพันธะระหว่างอะตอมของคาร์บอน
14.2.2. ไ่แสดงสัญลักษณ์ของธาตุคาร์บอนและไฮโดรเจน
14.2.3. แสดงสัญลักษณ์ของธาตุอื่น เช่น O N
14.2.3.1. ถ้ามี H ให้แสดง H
15. หมู่ฟังก์ชั่น
15.1. สารประกอบไฮโดรคาร์บอน
15.1.1. แอลเคน
15.1.1.1. พันธะเดี่ยว
15.1.1.2. CnH2n+2
15.1.1.3. ไฮโดรคาร์บอนอิ่มตัว
15.1.2. แอลคีน
15.1.2.1. พันธะคู่
15.1.2.2. CnH2n
15.1.2.3. ไฮโดรคาร์บอนไม่อิ่มตัว
15.1.3. แอลไคน์
15.1.3.1. พันธะสาม
15.1.3.2. CnH2n-2
15.1.3.3. ไฮโดรคาร์บอนไม่อิ่มตัว
15.1.4. แอโรแมติกไฮโดรคาร์บอน
15.1.4.1. วงเบนซีนในโครงสร้าง
15.2. สารประกอบอินทรีย์ที่มี C H O เป็นองค์ประกอบ
15.2.1. แอลกอฮอล์
15.2.1.1. ROH
15.2.1.2. -OH
15.2.2. อีเทอร์
15.2.2.1. ROR
15.2.2.2. -O-
15.2.3. แอลดีไฮด์
15.2.3.1. RCHO
15.2.3.2. -CHO
15.2.4. คีโทน
15.2.4.1. RCOR
15.2.4.2. -CO-
15.2.5. เอสเทอร์
15.2.5.1. RCOOR
15.2.5.2. -COO-
15.3. สารประกอบอินทรีย์ที่มี C H N เป็นองค์ประกอบ
15.3.1. เอมีน
15.3.1.1. RNH2
15.3.1.1.1. -NH2
15.3.1.2. RR'NH
15.3.1.2.1. -NH
15.3.1.3. RR'R''N
15.3.1.3.1. -N-
15.3.2. หมู่แอลคิลเรียกแสดงจำนวนอะตอมของ C
15.3.2.1. ลงท้ายด้วย -yl (อิล)
15.4. สารประกอบอินทรีย์ที่มี C H O และ N เป็นองค์ประกอบ
15.4.1. เอไมด์
15.4.1.1. RCONH2
15.4.1.1.1. -CONH2
15.4.1.2. RR'CONH
15.4.1.2.1. -CONH-
15.4.1.3. RR'R''CON
15.4.1.3.1. -CON-
16. ชื่อของสารประกอบอินทรีย์
16.1. IUPAC
16.1.1. คำนำหน้า
16.1.1.1. ชื่อหมู่แทนที่
16.1.1.2. หมู่แฮโลเจน
16.1.1.2.1. เปลี่ยนเสียงท้ายเป็น -O (โอ)
16.1.2. โซ่หลัก
16.1.2.1. สาย C ที่ยาวที่สุด
16.1.2.2. มีหมู่ฟังก์ชั่นหลัก
16.1.2.3. เรียกตามจำนวนอะตอมของ C
16.1.2.3.1. 1 = meth-
16.1.2.3.2. 2 = eth-
16.1.2.3.3. 3 = prop-
16.1.2.3.4. 4 = but-
16.1.2.3.5. 5 = pent-
16.1.2.3.6. 6 = hex-
16.1.2.3.7. 7 = hept-
16.1.2.3.8. 8 = oct-
16.1.2.3.9. 9 = non-
16.1.2.3.10. 10 = dec-
16.1.2.3.11. 11 = undec-
16.1.2.3.12. 12 = dodec-
16.1.2.4. ตำแหน่งหมู่ฟังก์ชั่นหลัก
16.1.3. คำลงท้าย
16.1.3.1. คำลงท้ายพ้องกับประเภทสารประกอบ
16.1.3.1.1. alkene = - ene
16.1.3.1.2. alkyne = -yne
16.1.3.1.3. alcohol = -ol
16.1.3.1.4. ether = -oxy
16.1.3.1.5. aldehyde = -al
16.1.3.1.6. ketone = -one
16.1.3.1.7. carboxylic acid = -oic acid
16.1.3.1.8. ester = -oate
16.1.3.1.9. amine = - amine
16.1.3.1.10. amide = - amide
17. ไอโซเมอร์
17.1. ไอโซเมอริซึม
17.1.1. สารที่มีสูตรโมเลกุลเหมือนกันแต่มีสมบัติต่างกัน
17.2. ไอโซเมอร์โครงสร้าง
17.3. ไอโซเมอร์โครงร่าง
17.4. สารที่มีสูตรโมเลกุลเหมือนกันแต่สูตรโครงสร้างต่างกัน
17.5. ไอโซเมอร์หมู่ฟังก์ชั่น
17.5.1. แอลกอฮอล์ กับ อีเทอร์
17.5.2. แอลดีไฮด์ กับ คีโทน
17.5.3. กรดคาร์บอกซิลิก กับ เอสเทอร์
17.6. สเทอริโอไอโซเมอร์
17.6.1. ทิศทางของพันธะต่างกัน
17.6.1.1. cis = ทิศทางเดียวกัน
17.6.1.2. trans = ด้านตรงข้ามกัน
17.7. อิแนนทิโอเมอร์
17.7.1. ภาพสะท้อนในกระจก
17.7.2. ไม่สามารถซ้อนทับกันได้สนิท
17.7.3. คล้ายมือซ้ายและมือขวา
18. พันธะของคาร์บอนในสารประกอบอินทรีย์
18.1. C มี 4 เวเลนซ์อิเล็กตรอน
18.2. เกิดพันธะโคเวเลนต์กับอะตอมข้างเคียงได้ 4 พันธะ
18.2.1. พันธะเดี่ยว
18.2.2. พันธะคู่
18.2.3. พันธะสาม