1. บล็อค
1.1. คือโค้ดที่ประกอบด้วยประโยคต่างๆที่อยู่ระหว่างเครื่องหมายปีกกา{ }หนึ่งคู่ (Curly Braces) เป็นการจัดกลุ่มของประโยคเหล่านั้นไว้ด้วยกัน
1.2. สามารถมีบล็อกอื่นๆอยู่ภายในได้ (Nested Block)
2. ประโยค
2.1. คือโค้ดในภาษาโปรเซสซิ่งที่จบท้ายแต่ละประโยคด้วยเครื่องหมายเซมิโคลอน
2.2. หนึ่งประโยคจะมีมากกว่าหนึ่งบรรทัดก็ได้
2.3. ไม่นิยมเขียนประโยคหลายๆประโยคในบรรทัดเดียวกัน เพราะจะทำให้อ่านทำความเข้าใจได้ยาก
3. ตัวแปร
3.1. ตัวแปร (Variable) คือ ตัวระบุ(ชื่อ) ที่ใช้ในโค้ดสำหรับเก็บค่าในหน่วยความจำ ตามชนิดของข้อมูล (Data Type) ที่เลือกใช้
3.1.1. เลือกชนิดของข้อมูลให้เหมาะสมกับการใช้งาน
3.1.2. สามารถเปลี่ยนค่าที่เก็บในข้อมูลได้(ตามที่ตัวแปรควรจะเป็น)
3.2. ในการใช้งานตัวแปรจะต้องมีการประกาศใช้งาน (VariableDeclaration) ก่อนเสมอ (ตั้งชื่อและกำหนดชนิดของข้อมูล)
3.3. กรณีในการประกาศใชตั้วแปร เช่น
3.3.1. – ประกาศใชตั้วแปรภายในฟังก์ชัน (Local Variable)
3.3.2. – ประกาศใชตั้วแปรที่เป็นสมาชิกของคลาส (Class Variable)
3.3.3. – ประกาศใชตั้วแปรภายนอกฟังก์ชัน (Global Variable)
4. นิพจน์
4.1. การนำส่วนที่เรียกว่า ตัวดำเนินการ (Operator) และตัวถูกดำาเนินการ (Operand) มาเขียนรวมกันในรูปแบบที่สามารถคำนวณผลลัพธ์ให้เป็นค่าออกมาได้
5. ตัวดำเนินการ หรือ โอเปอร์เรเตอร์
5.1. คือสิ่งที่สามารถคำานวณหรือหาค่าได้ในนิพจน์
6. ตัวถูกดำาเนินการ หรือ โอเปอร์แรนด์
6.1. คือสัญลักษณ์ที่ใช้แทนการกระทำอย่างใดอย่างหนึ่งกับข้อมูลที่ได้จากตัวถูกดำเนินการในนิพจน์
7. ช่องว่าง
7.1. ใช้แบ่งแยกโทเคนต่างๆ หรือเว้นช่องว่างเพื่อทำให้อ่านโค้ดได้ง่ายขึ้น
7.2. ตัวอย่างของช่องว่างในการเขียนโค้ด
7.2.1. การกดคีย์แทบ (Tab)
7.2.2. การเว้นวรรค (Space Bar) เพื่อเว้นว่างหนึ่งตัวอักษร หรือสัญลักษณ์ ' ' และ
7.2.3. การขึ้นบรรทัดใหม่ (New Line)
8. ชนิดของข้อมูล
8.1. ตัวแปรทุกตัวจะต้องมีชนิดของข้อมูลที่เกี่ยวข้อ งในการใช้งาน
8.2. ตัวอย่างชนิดข้อมูลพืื้นฐานในภาษาโปรเซสซิ่ง 8 ชนิด ได้แก่
8.2.1. char
8.2.2. long
8.2.3. int
8.2.4. float
8.2.5. double
8.2.6. boolean
8.2.7. short
8.2.8. byte
9. คำสงวน
9.1. คำสงวน (Reserved Word) ในภาษาโปรเซสซิ่ง
9.1.1. คือ คำศัพท์ที่คอมไพล์เลอร์ของภาษานี้เข้าใจได้เป็นชื่อเฉพาะที่ใช้แทนความหมายพิเศษของการทำงานต่างๆ ในภาษาโปรเซสซิ่ง และผู้เขียนโปรแกรมไม่สามารถนำมาตั้งเป็นชื่อตัวแปรหรืออื่นๆ ได้
9.2. นอกจากนี้ยังมีชื่ออื่นๆ อีกที่ไม่นำมาใชตั้้งชื่อ เช่น
9.2.1. ชื่อของค่าคงทีี่ ชื่อของฟังก์ชัน และชื่อของคลาส (ชนิดของข้อมูลสำาหรับอ้างอิงออปเจค) เป็นต้น
9.2.2. เหล่านี้เป็นคำาที่ได้นิยามไว้แล้วในไลบรารี่ของโปรเซสซิ่งและหลีกเลี่ยงในการนำมาตั้งชื่อ
10. ข้อมูลค่าคงที่
10.1. ข้อมูลค่าคงที่ (Literal)
10.1.1. คือค่าของข้อมูลที่แน่นอน ซึ่งระบุไว้ในโค้ดของโปรแกรม เช่น ตัวเลข ตัวอักขระ หรือข้อความ เป็นต้น
10.2. แบ่งออกเป็นตามประเภทต่างๆ เช่น
10.2.1. ข้อมูลค่าคงที่เชิงตรรกะ (Boolean Literal)
10.2.2. ข้อมูลค่าคงที่เลขทศนิยม (Floating-Point Literal)
10.2.3. ข้อมูลค่าคงที่ขอ้ ความ (String Literal)
10.2.4. ข้อมูลค่าคงที่ตัวเลขจำนวนเต็ม (Integer Literal)
10.2.5. ข้อมูลค่าคงที่ตัวอักขระ (Character Literal)