บทที่ 9 การสร้างทีมงาน วิชา Human Relation

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
บทที่ 9 การสร้างทีมงาน วิชา Human Relation by Mind Map: บทที่ 9 การสร้างทีมงาน วิชา Human Relation

1. 6. บทบาทของสมาชิกภายในทีม

1.1. ผู้มีความคิดริเริ่ม

1.2. ผู้ส่งเสริม

1.3. ผู้พัฒนา

1.4. ผู้จัดระเบียบ

1.5. ผู้สร้าง

1.6. ผู้ตรวจสอบ

1.7. ผู้รักษา

1.8. ที่ปรึกษา

1.9. ผู้เชื่อมโยง

2. 5. ปัจจัยสู่ความสำเร็จของการทำงานเป็นทีม

2.1. ปัจจัยด้านองค์ประกอบ

2.1.1. องค์ประกอบด้านสมาชิก

2.1.2. องค์ประกอบด้านผู้นำ

2.1.3. องค์ประกอบด้านการจัดรูปแบบกลุ่ม

2.2. ปัจจัยด้านพฤติกรรมกลุ่ม

2.2.1. P = SMOKE

2.2.2. TEAMWORK

2.2.3. ธรรมชาติพฤติกรรมกลุ่ม

2.3. ปัจจัยด้านบทบาทความรับผิดชอบของสมาชิก

3. 7. ขั้นตอนการสร้างทีม

3.1. 1.กำหนดภารกิจหรืองานที่ทำ

3.2. 2. สร้างความเข้าใจกับสมาชิก

3.3. 3. ระดมความคิด

3.4. 4. คัดเลือกความคิด

3.5. 5. กำหนดแผนปฏิบัติงาน

3.6. 6. ปฏิบัติตามแผน

3.7. 7. การประเมินผลและข้อมูลป้อนกลับ

4. 8. ลักษณะของทีมงานที่มีประสิทธิภาพ

4.1. จงดี เดชาสกุลสม และ แมคเกรเกอร์

4.1.1. 1. กำหนดนโยบาย

4.1.2. 2. มุ่งขายความคิด

4.1.3. 3. ร่วมจิตแก้ไข

4.1.4. 4.เข้าใจหน้าที่

4.1.5. 5.มีการสื่อสาร

4.1.6. 6.สรรค์สร้างริเริ่ม

4.1.7. 7.ส่งเสริมผู้นำ

4.1.8. 8.กำจัดความขัดแย้ง

4.1.9. 9.แข็งแกร่งจริงใจ

4.2. Parker

4.2.1. วัตถุประสงค์ชัดเจน

4.2.2. บรรยากาศการทำงานที่ปราศจากพิธีรีตอง

4.2.3. การรับฟังซึ่งกันและกัน

4.2.4. ความไม่เห็นด้วยในทางบวก

4.2.5. ความเห็นพ้องต้องกัน

4.2.6. การสื่อสารที่เปิดเผย

4.2.7. บทบาทและการมอบหมายงานที่ชัดเจน

4.2.8. ภาวะผู้นำร่วม

4.2.9. ความสัมพันธ์กับภายนอก

4.2.10. รูปแบบการทำงานที่หลากหลาย

4.2.11. การประเมินผลตนเอง

5. 9. อุปสรรค์ของการทำงานเป็นทีม

5.1. อุปสรรค์จาผู้นำ

5.2. อุปสรรค์จากสมาชิก

6. 1.ความหมายการสร้างทีมงาน

6.1. การสร้างทีมงาน หมายถึงการจัดการพลังกลุ่มคนที่มีจุดมุ่งหมายร่วมกัน และต้องทำงานร่วมกันเพื่อให้งานนั้นๆประสบผลสำเร็จ

7. 2. วัตถุประสงค์ของการสร้างทีมงาน

7.1. 1.ให้สมาชิกแต่ละคนเข้าใจบทบาทตนเอง

7.2. 2. ให้สมาชิกมีความเข้าใจเกี่ยวกับกฏ

7.3. 3. สร้างความไว้วางใจกันและกัน

7.4. 4. เพิ่มการสื่อสารระหว่างสมาชิก

7.5. 5. เสริมทักษะความเชี่ยวชาญ

7.6. 6. เรียนรู้วิธีการทำงานให้มีประสิทธิภาพ

7.7. 7. เพื่อสนับสนุนด้ารการพัฒนาบุคลิกภาพ

7.8. 8.พัฒนาทักษะในการแก้ปัญหา

7.9. 9. ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์

7.10. 10. เพิ่มความสามารถในการทำงานร่วมกัน

8. 4.หลักปฏิบัติในการทำงานร่วมกันเป็นทีม

8.1. 1. มีความไว้ใจกัน

8.2. 2. มีการสื่อสารแบบเปิด

8.3. 3. สามารถเผชิญกับข้อขัดแย้งต่างๆได้

8.4. 4. มีการประสานความร่วมมือและการทำงานเป็นทีม

8.5. 5. มีสมรรถภาพในการดำรงรักษาและพัฒนาองค์การ

9. 3. ประเภทของทีม

9.1. แบ่งตามรูปแบบการบริหาร

9.1.1. 1.ทีมระดับสูง

9.1.2. 2. ทีมบริหาร

9.1.3. 3. ทีมปฏิบัติงาน

9.1.4. 4. ทีมวิศวเทคนิค

9.1.5. 5. ทีมฝ่ายสนับสนุน

9.2. แบ่งตามวัตถุประสงค์

9.2.1. 1. ทีมแก้ปัญหา

9.2.2. 2. ทีมบริหารตนเอง

9.2.3. 3. ทีมที่มีจุดมุ่งหมายพิเศษ