Human Relation บทที่ 12

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
Human Relation บทที่ 12 by Mind Map: Human Relation  บทที่ 12

1. 1.ความหมายและแนวคิดเกี่ยวกับศาสนา

1.1. ความหมายหมายของศาสนา

1.1.1. ศาสนา หมายถึง คำสั่งสอนของศาสดาผู้ประกาศศาสนานั้นๆ มีจุดมุ่งหมายเพื่อความถูกต้อง ดีงาม

1.2. แนวคิดเกี่ยวกับศาสนา

1.2.1. สิ่งที่เหมือนกัน

1.2.1.1. ช่วยให้มนุษย์พ้นจากความทุกข์

1.2.1.2. ได้รับความอบอุ่นใจ

1.2.1.3. ปลอดภัยจากความกลัว

1.2.1.4. ได้รับความอบอุ่นใจ

1.2.2. สิ่งที่แตกต่างกัน

1.2.2.1. ความเชื่อ

1.2.2.2. ความเชื่อ

1.2.2.3. พิธีกรรม

2. 2.ประเภทของศาสนา

2.1. 1.เทวนิยม=เชื่อในพระเจ้า

2.1.1. เอกเทวนิยม คือ พระเจ้าองค์เดียว

2.1.2. พหุเทวนิยม คือ พระเจ้าหลายองค์

2.2. 2.อเทวนิยม=ไม่เชื่อว่ามีพระเจ้า

3. 3.องค์ประกอบของศาสนา

3.1. ศาสดา : ผู้ประกาศศาสนา

3.2. คำสอน : ข้อความคำสั่งสอนของพระศาสดาและพระสาวกสำคัญ

3.3. ผู้แทนของศาสนา : ผู้ที่รับคำสอนของศาสนานั้นๆ มาปฏิบัติ

3.4. ศาสนสถาน : สถานที่สำคัญทางศาสนา

3.5. สัญลักษณ์ : ใช้สิ่งที่เป็นรูปธรรมแทนนามธรรม

3.6. การปฏิบัติตามความเชื่อในศาสนา : ออกมาในรูปของพิธีกรรมหรือการปฏิบัติตามคำสอน

4. 6.ศาสนาคริสต์

4.1. หลักคำสอนของศาสนาคริสต์ที่นำมาใช้ในการสร้างมนุษยสัมพันธ์

4.1.1. บัญญัติ 10 ประการของโมเสส

4.1.1.1. อย่ามีพระเจื่อนต่อหน้าเราเลย

4.1.1.2. อย่าทำรูปเคารพสำหรับตน

4.1.1.3. อย่าออกนามพระยะโฮวาโดยไม่สมเหตุ

4.1.1.4. จงระลึกถึงวันซะบาโต

4.1.1.5. จงนับถือบิดามารดา

4.1.1.6. อย่าฆ่าคน

4.1.1.7. อย่าผิดประเวณี

4.1.1.8. อย่าลักทรัพย์

4.1.1.9. อย่าเป็นพยานเท็จ

4.1.1.10. อย่าโลภสิ่งของผู้อื่น

4.1.2. หลักความรัก

4.1.2.1. ระดับที่ 1 ความรักระหว่างมนุษย์กับพระเจ้า : บิดากับบุตร

4.1.2.2. ระดับที่ 2 ความรักระหว่างมนุษย์กับมนุษบ์ : รักเพื่อนบ้านเหมือนเป็นพี่น้อง

4.2. พิธีกรรมทางศาสนา

4.2.1. พิธีศีลล้างบาป

4.2.2. พิธีศีลกำลัง

4.2.3. พิธีศีลมหาสนิท

4.2.4. พิธีศีลสารภาพบาป

4.2.5. พิธีสีลเจิมผู้ป่วย

4.2.6. พิธีศีลบวช

4.2.7. พิธีศีลสมรส

4.3. New node

5. 7.ศาสนาอิสลาม

5.1. คำสอนและหลักปฏิบัติของศาสนาอิสลาม

5.1.1. ความเชื่อในศาสนา = ศรัทธาต่อพระอัลลอฮ์ บรรดามลาอิก๊ะฮ พระคัมภีร์ นบี

5.1.2. หลักปฏิบัติในศาสนาอิสลาม

5.1.2.1. ปฏิญาณตน

5.1.2.2. ละหมาด 5ครั้งต่อวัน ทำใจให้บริสุทธิ์

5.1.2.3. ถือศีลอด

5.1.2.4. บริจาคซะกาด

5.1.2.5. พิธีฮัจญ์

6. 4.หน้าที่ของศาสนา

6.1. หน้าที่ต่อบุคคล

6.1.1. ตอบสนองความอยากรู้อยากเห็น=สงสัยว่าบางคนอายุยืน บางคนอายุสั้น ตอบคือ มนุษย์จะเป็นอย่างไรขึ้นอยู่กับกรรมที่ทำมา

6.1.2. ตอบสนองความปรารถนาในสิ่งที่เป็นสาระแก่ชีวิต=ทำสิ่งต่างๆให้เป็นไปตามความตั้งใจ

6.1.3. ตอบสนองความต้องการที่จะแสดงออกทางอารมณ์=ช่วยให้แสดงอารมณ์ในรูปแบบที่สร้างสรรค์

6.2. หน้าที่ต่อสังคม

6.2.1. ช่วยอบรมให้รู้ระเบียบทางสังคม = ให้รู้ว่าพฤติกรรมใด สังคมยอมรับ ไม่ยอมรับ

6.2.2. กำหนดสถานภาพและบทบาทของสมาชิก = จำแนกความต่างชนชั้นของสังคม

6.2.3. รู้สึกเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันในสังคม = นับถือศาสนาเดียวกัน จะสนิทกกันและช่วยเหลือกัน

6.2.4. ช่วยให้สังคมเป็นปึกแผ่น = มีกิจกรรมต่าง จะมารวมตัวกัน

6.2.5. ช่วยในการควบคุม = ตัวแทนจะสั่งสอน อบรม โน้มน้าวใจให้ทำตามศีลธรรม

6.2.6. เป็นสถาบันสวัสดิการทางสังคม = ในยามประสบอุบัติภัย ก็ใช้เป็นที่พักพิงฉุกเฉิน

6.2.7. ช่วยให้สังคมเป็นปึกแผ่น = มีกิจกรรมต่าง จะมารวมตัวกัน

7. 5.ศาสนาพุทธ

7.1. หลักธรรมพื้นฐานที่บุคคลพึงมี

7.1.1. อริยสัจ 4

7.1.1.1. ทุกข์ = สภาพที่ทนได้ยาก

7.1.1.2. สมุทัย = เหตุของทุกข์

7.1.1.3. นิโรธ = สภาวะไม่มีทุกข์

7.1.1.4. มรรค = หนทางดับทุกข์

7.1.2. มรรค 8

7.1.2.1. ทิฐิ = เห็นชอบ

7.1.2.2. สังกัปปะ = คิดชอบ

7.1.2.3. วาจา = พูดดี

7.1.2.4. กัมมันตะ = ทำดี

7.1.2.5. อาชีวะ = เลี้ยงชีพชอบ

7.1.2.6. วายามะ = เพียรพยายาม

7.1.2.7. อาชีวะ = เลี้ยงชีพชอบ

7.1.2.8. สมาธิ = ตั้งใจชอบ จิตแน่วแน่

7.1.3. หิริโอตัปปะ = ละอายต่อบาป ทั้งต่อหน้าและลับหลัง

7.1.4. ขันติโสรัจจะ = ความอดทน

7.1.5. เบญจศีลและเบญจธรรม = ศีล 5/ธรรม มีเมตตา +อาชีพสุจริต +สำรวมในกาม+ซื่อสัตย์ +มีสติ

7.2. หลักธรรมที่ช่วยสร้างสัมพันธภาพกับผู้อื่น

7.2.1. สังคหวัตถุ 4 : ธรรมสำหรับยึดเหนี่ยวจิตใจ

7.2.1.1. ทาน -ให้คนที่ควรให้

7.2.1.2. ปิยวาจา - พูดจาไพเราะ

7.2.1.3. อัตถจริยา -ทำตัวให้เป็นประโยชน์แก่ส่วนรวม

7.2.1.4. สมานัตตา -ทำตัวเสมอต้นเสมอปลาย

7.2.2. ฆราวาสธรรม : ธรรมสำหรับผู้ครองเรือน

7.2.2.1. สัจจะ -ซื่อสัตย์

7.2.2.2. ทมะ - ดีใจ อยากได้ อยากมี

7.2.2.3. ขันติ - อดทน

7.2.2.4. จาคะ - เสียสละ

7.3. หลักธรรมสำหรับการบริหาร

7.3.1. พรหมวิหาร 4 : ธรรมสำหรับผู้ปกครอง

7.3.1.1. เมตตา - อยากให้ผู้อื่นเป็นสุข

7.3.1.2. กรุณา - ช่วยให้ผู้อื่นพ้นทุกข์

7.3.1.3. มุทิตา - ยินดีเมื่อผู้อื่นได้ดี

7.3.1.4. อุเบกขา - การวางเฉย

7.3.2. ทศพิธราชธรรม : ธรรมสำหรับพระราชา

7.3.2.1. ทาน-การให้

7.3.2.2. ศีล-สำรวมกาย วาจา ใจ

7.3.2.3. ปริจาค - การบริจาค

7.3.2.4. อาชว - ซื่อสัตย์ซื่อตรง

7.3.2.5. มัทวะ - สุภาพ อ่อนโยน

7.3.2.6. อักโกธะ - ความไม่โกรธ

7.3.2.7. อวิหิงสา - ความไม่เบียดเบียน

7.3.2.8. ขันติ - อดทน

7.3.2.9. อวิโรธนะ - ความยุติธรรม

7.4. หลักธรรมเพื่อการพัฒนาตนเอง

7.4.1. อิทธิบาท4 : ธรรมที่ช่วยให้ผู้ปฏิบัติประสบความสำเร็จ

7.4.1.1. ฉันทะ - ความพอใจในสิ่งที่ทำ

7.4.1.2. วิริยะ - ความพยายาม

7.4.1.3. จิตตะ - สนใจ

7.4.1.4. วิมังสา - สติปัญญา

7.4.2. สัปปุริสธรรม7 : ธรรมสำหรับคนดี

7.4.2.1. ธัมมัญญตา -ผู้รู้จักเหตุ

7.4.2.2. อัตถัญญตา - ผู้รู้จักผล

7.4.2.3. อัตตัญญุตา - ผู้รู้จักตนเอง

7.4.2.4. มัตตัญญุตา - ผู้รู้จักประมาณ

7.4.2.5. กาลัญญุตา - ผู้รู้จักเวลาอันเหมาะสม

7.4.2.6. ปริสัญญุตา - ผู้รู้จักชุมชน

7.4.2.7. ปุคคลัญญุตา - ผู้รู้จักบุคคล

8. New node

8.1. New node

8.1.1. New node