1. การพูด
1.1. ความสำคัญของการพูด
1.1.1. ทำให้เกิดมิตรภาพและไมตรีจิตต่อกัน
1.1.2. ทำให้เกิดความเข้าใจระหว่างบุคคลได้ง่าย
1.1.3. ก่อให้เกิดความร่วมมือร่วมใจและเข้าใจกัน
1.1.4. ทำให้ได้ความรู้กว้างขวางมากขึ้น
1.2. จุดมุ่งหมายของการพูด
1.2.1. แจ้งให้ทราบ
1.2.2. โน้มน้าวใจ
1.2.3. จรรโลงใจ
1.2.4. ค้นหาคำตอบ
1.3. องค์ประกอบของการพูด
1.3.1. ผู้พูด
1.3.2. ผู้ฟัง
1.3.3. เนื้อหาที่พูด
1.3.4. ปฏิกิริยาของผู้ฟัง
1.4. หลักการพูดที่ดี
1.4.1. วิเคราะห์ผู้ฟังและกาลเทศะ
1.4.1.1. ผู้ฟัง
1.4.1.1.1. เพศ
1.4.1.1.2. วัย
1.4.1.1.3. ระดับการศึกษา
1.4.1.1.4. อาชีพ
1.4.1.1.5. ความสนใจพิเศษ
1.4.1.2. สถานที่
1.4.1.3. เวลา
1.4.1.4. โอกาส
1.4.2. การเลือกเรื่องที่จะพูด
1.4.2.1. เรื่องที่ผู้ฟังสนใจ
1.4.2.2. ผู้ฟังสามารถเข้าใจได้
1.4.2.3. เรื่ื่องที่เป็นประโยชแก่ผู้ฟัง
1.4.2.4. เรื่องที่ผู้พูดมีความถนัด
1.4.3. การปรับปรุงตัวผู้พูด
1.4.3.1. ปลูกฝังให้มีจิดใจเป็นนักพูด
1.4.3.2. ปรังปรุงบุคลิกภาพ
1.4.3.3. ฝึกด้านศิลปะการพูด
1.5. ศิลปะการพูดเพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์
1.5.1. คิดก่อนพูด
1.5.2. มีคุณธรรม
1.5.3. มีทักษะในการพุด
1.5.4. เลือกใช้คำพูดที่เหมาะสมกับสถานการณ์ต่างๆ
1.5.5. ไม่พูดส่อเสียดกล่าวร้ายาผู้อื่น
1.5.6. ควบคุมอารมณืตนเองเมื่อเกิดอารมณ์โกรธ
1.5.7. มีอารมณ์ขัน
1.5.8. พูดให้เกิดความประทับใจแก่ผู้ฟัง
1.6. การพูดในโอกาศต่างๆ
1.6.1. โฆษก
1.6.2. กล่าวแนะนำผู้พูด
1.6.3. กล่าวขอบคุณผู้พูด
1.6.4. กล่าวต้อนรับ
1.6.5. กล่าวตอบการต้อนรับ
1.6.6. กล่าวมอบของขวัญหรือรางวัล
1.6.7. กล่าวตอบที่ได้รับของขวัญหรือรางวัล
1.6.8. กล่าวอวยพร
1.6.9. กล่าวตอบคำอวยพร
2. การฟัง
2.1. การฟังอย่างมีประสิทธิภาพ
2.1.1. ฟังอย่างตั้งใจ
2.1.2. ฟังอย่างมีเป้าหมาย
2.1.3. รู้จักแปลความหมายของคำ
2.1.4. ควบคุมอารมณ์และระวังความมีอคติ
2.1.5. มีการจดบันทึกสิ่งที่ได้ฟัง
2.1.6. แสดงให้ผู้พูดเห็นว่ากำลังตั้งใจฟัง
2.1.7. มีความอดทนในการฟัง
2.1.8. ฝึกคิดขณะที่ฟัง
2.2. ความสำคัญของการฟัง
2.2.1. ทำให้ได้รับความเพลิดเพลิน
2.2.2. ทำให้ได้รับความรู้
2.2.3. สร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ
2.3. การฝึกทักษะการฟัง
2.3.1. ฟังเพื่อจับใจความ
2.3.2. ฟังโดยใช้วิจารณญาณ
2.3.3. ฟังเพื่อนำคุณค่าไปใช้ประโยชน์