ฟิสิกส์เพื่อสถาปัตย์

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ฟิสิกส์เพื่อสถาปัตย์ by Mind Map: ฟิสิกส์เพื่อสถาปัตย์

1. แรงและกฎการเคลื่อนที่

1.1. กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน

1.1.1. กฎข้อที่ 1 : กฎของความเฉื่อย

1.1.2. กฎข้อที่ 2 : กฎของความเร่ง

1.2. กฎข้อที่ 3 : กฎของแรงคู่กิริยา-ปฏิกิริยา

1.3. แรงพื้นฐานของธรรมชาติ

1.3.1. นํ้าหนักของวัตถุ

1.3.1.1. ขนาดขึ้นอยู่กับมวลของวัตถุ มีทิศเข้าหาศูนย์กลางโลก

1.3.2. ขนาดขึ้นอยู่กับความยาวของสปริงที่เปลี่ยนแปลงไป มีทิศทางทำให้สปริงกลับสู่รูปร่างเดิม

1.3.3. แรงสปริง

1.3.4. แรงดึง

1.3.4.1. เป็นแรงที่เชือกดึงวัตถุ มีทิศออกจากวัตถุ

1.3.5. แรงแนวฉาก

1.3.5.1. เป็นแรงกระทำระหว่างผิววัตถุสองก้อนที่สัมผัสกัน มีทิศตั้งฉากกับแนวสัมผัส

1.3.6. แรงเสียดทาน

1.3.6.1. เป็นแรงกระทำระหว่างผิววัตถุสองก้อนที่สัมผัสกัน พยายามต้านการเคลื่อนที่ระหว่างวัตถุ

1.4. ลักษณะของแรง

1.4.1. มีผู้ถูกกระทำ หรือวัตถุที่ถูกกระทำ

1.4.2. มีผู้กระทำ หรือผู้ออกแรง

1.4.3. มีทิศทางของแรง

2. โครงถัก หรือโครงข้อหมุน

2.1. ประเภทของโครงถัก

2.1.1. โครงถักอย่างยาก

2.1.1.1. ต้องคำนวณหาค่าแรงกระทำต่างๆ ด้วยหลักการทางคณิตศาสตร์ขั้นสูง

2.1.1.2. ใช้กับโครงงานที่ค่อนข้างซับซ้อน

2.1.2. โครงถักอย่างง่าย

2.1.2.1. สามารถวิเคราห์หาค่าแรงกระทำต่างๆ ได้ด้วยสมการสมดุล

2.1.2.2. สักษณะการใช้งาน

2.1.2.2.1. แบบโครงหลังคา

2.1.2.2.2. แบบโครงสะพาน

2.1.2.2.3. แบบโค้งประทุน

2.1.2.3. *เจอในข้อสอบ PAT4 เยอะ*

2.2. องค์ประกอบของโครงถัก

2.2.1. จันทัน-ทำหน้าที่รับแรงอัด

2.2.2. ขื่อ-ทำหน้าที่รับแรงดึง

2.2.3. คํ้ายันในแนวดิ่ง

2.2.4. คํ้ายันในแนวเอียง

3. นายปัญญาพงศ์ แสงมาศ ม.6/10 เลขที่ 39

4. เวกเตอร์

4.1. การรวมเวกเตอร์

4.1.1. เวกเตอร์ที่กระทำในแนวเส้นตรงเดียวกัน

4.1.2. เวกเตอร์ที่ไม่ได้กระทำในแนวเส้นตรงเดียวกัน

4.1.2.1. หาเวกเตอร์โดยวิธิวาดภาพ

4.1.2.2. หาเวกเตอร์โดยวิธิการคำนวน

4.2. ประกอบไปด้วย ขนาดและทิศทาง ดังนั้น ต้องใช้ลูกศรเขียนแทนปริมาณเวกเตอร์

4.3. สมบัติของเวกเตอร์

4.3.1. เวกเตอร์ขนาน ก็ต่อเมื่อทั้งสองเวกเตอร์มิทิศเดียวกันหรือมีทิศตรงข้ามกัน

4.3.2. การเท่ากันของเวกเตอร์ จะเท่ากันก็ต่อเมื่อเวกเตอร์ทั้งสองมีขนาดเท่ากันและมีทิศทางเดียวกัน

4.3.3. นิเศธของเวกเตอร์ จะมีขนาดเท่ากัน แต่มีทิศทางตรงกันข้าม

5. สภาพยืดหยุ่นของของแข็ง

5.1. สมบัติของของแข็ง

5.1.1. สภาพยืดหยุ่น

5.1.1.1. เมื่อออกแรงกระทำ วัตถุนั้นจะเปลี่ยนรูปร่าง และเมื่อหยุดแรงกระทำ จะกลับสู่สภาพเดิม

5.1.2. สภาพพลาสติก

5.1.2.1. เมื่อออกแรงกระทำ วัตถุเปลี่ยนรูปร่างถาวร แต่ยังไม่ฉีกขาดหรือแตกหักออกจากกัน

5.2. กราฟความสัมพันธ์ระหว่างกับระยะยืดของสปริง

5.3. แรงที่ทำให้วัตถุเปลี่ยนรูปร่าง

5.3.1. แรงดึง-แรงที่กระทำแล้วทำให้วัตถุมีความยาวเพิ่มขึ้น

5.3.2. แรงอัด-เป็นแรงที่กระทำให้วัตถุมีความยาวลดลง

5.3.3. แรงเฉือน-เป็นแรงที่กระทำแล้วทำให้วัตถุเลื่อนไป

5.4. ความเค้นและความเครียด

5.4.1. ความเค้น-เมื่อออกแรงกระทำกับวัตถุ วัตถุจะเกิดแรงภายใน ซึ่งก็คือแรงเค้น

6. สมดุล

6.1. สมดุลกล

6.1.1. สมดุลสถิต-วัตถุอยู่นิ่ง

6.1.2. สมดุลจลน์-วัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัว, วัตถุที่หมุนด้วยอัตราเร็วเชิงมุมคงตัว

6.2. โมเมนต์

6.2.1. M = F x L

6.2.1.1. M คือ โมเมนต์ของแรง (Nm)

6.2.1.2. F คือ แรง (N)

6.2.1.3. L คือ ระยะทางที่คั้งฉากจากจุดหมุนถึงแนวแรง

6.3. ประเภทของสมดุลที่แบ่งตามลักษณะการเคลื่อนที่

6.3.1. คาน เป็นเครื่องกลชนิดหนึ่งที่ใช้ดีดงัดวัตถให้เคลื่อนที่รอบจุดหมุน มีลักษณะเป็นแท่งยาว

6.3.2. หลักการของโมเมนต์

6.3.2.1. Mทวน = Mตาม