
1. ตะวันตกยุคกลาง
1.1. ศิลปะ
1.1.1. Medieval art (500-1500 AD)
1.1.1.1. Byzantine art
1.1.1.1.1. เกี่ยวข้องกับศาสนาคริสต์
1.1.1.1.2. ภาพพระคริสต์
1.1.1.1.3. ภาพเรื่องราวต่างๆของพระเยซู
1.1.1.1.4. นิยมใช้ทอง เพื่อแสดงความมั่งคั่ง
1.1.1.2. Justinian
1.1.1.2.1. สร้าง Hagia Sophia
1.1.2. Romanesque (1000-1150 AD)
1.1.2.1. สืบทอดจากศิปะโรมันและไบเซนไทน์
1.1.2.2. งานจิตรกรรม
1.1.2.2.1. เกี่ยวข้องกับศาสนาคริสต์
1.1.2.2.2. เน้นความเข้าใจ เรียบง่าย ไม่เน้นสัดส่วน
1.1.2.3. งานสถาปัตยกรรม
1.1.2.3.1. คล้ายป้อมปราการ
1.1.2.3.2. ทึบ ตัน มีหน้าต่างหลอก
1.1.2.3.3. ใช้ Arch
1.1.2.3.4. มีโดมด้านหลัง
1.1.3. Gothic art (1150-1500 AD)
1.1.3.1. งานสถาปัตยกรรม
1.1.3.1.1. ทรงสูง แนวตั้ง ราวกับตึกระฟ้า
1.1.3.1.2. สร้างกว้างมากไม่ได้
1.1.3.2. งานประติกรรม
1.1.3.2.1. แนวตั้ง
1.1.3.2.2. สเกลจะยื่นยาวกว่าปกติ
1.1.3.2.3. gargoyle
1.1.3.3. งานจิตรกรรม
1.1.3.3.1. ลักษณะ perspective ที่ไม่ถูกมาก
1.2. ดนตรี
1.2.1. Chant Music
1.2.1.1. โบสถ์ พิธีทางศาสนา
1.2.1.2. ร้องเสียงเดียว (Monophony)
1.2.1.3. ไม่มีดนตรีประกอบ ไม่มีจังหวะ
1.2.1.4. ร้องเป็นภาษาละติน
1.2.1.5. Mode
1.2.2. Neumatic Notation
1.2.2.1. การเขียนโน้ตแบบเก่า
1.2.3. Organum
1.2.3.1. การร้องประสานเสียงแบบ Polyphony
1.2.3.2. เพลงร้อง
1.2.4. Secular music
1.2.4.1. ดนตรีคฤหัสถ์ (ดนตรีนอกโบสถ์)
1.3. การละคร
1.3.1. ละครเร่
1.3.2. มีการนำเรื่องราวจากคัมภีร์มาแสดง
2. อินเดียโบราณ
2.1. พุทธศิลป์
2.1.1. ราชวงศ์โมริยะ
2.1.2. พระเจ้าอโศก
2.1.2.1. ให้พุทธศาสนาเป็นศานาประจำชาติ
2.1.2.2. เสาพระเจ้าอโศก
2.1.2.2.1. หัวเสา
2.1.2.2.2. เจดีย์
2.1.3. ใช้มาตราส่วนแบบศักดินา
2.1.4. ไม่กล้าสลักรูปพระพุทธเจ้า เพราะกลัวจะเป็นการลบหลู่
2.2. คันธาระ
2.2.1. ได้อิทธิพลจากกรีก โรมัน
2.2.2. พระพุทธรูปแบบคันธาระ
2.2.2.1. ผมหยิก หยักศก
2.2.2.2. ใบหน้าคล้ายเทพ Apollo
2.2.2.3. จีวรแบบห่มคลุม
2.2.2.4. จีวรหนา เป็นริ้ว
2.3. มถุรา
2.3.1. พระพุทธรูป
2.3.1.1. ผมตรง
2.3.1.2. จีวรเปิดไหล่
2.3.1.3. จีวรบาง มีริ้วบางส่วน
2.4. คุปตะ
2.4.1. พระพุทธรูป
2.4.1.1. ผมเป็นเกลียวก้นหอย
2.4.1.2. จีวรห่มคลุม
2.4.1.3. จีวรบางมาก มีริ้วทั่วจีวร
2.5. ภารตนาฏยัม
2.5.1. ศาสตร์การร่ายรำที่เก่าแก่ของอินเดีย
2.5.2. ต้นทางมาจากพระศิวะ
3. จีน
3.1. อิทธิพลจาก
3.1.1. ศาสนาพุทธ
3.1.2. อินเดีย
3.2. งานจิตรกรรม
3.2.1. ภาพเขียนทิวทัศน์
3.2.1.1. ไม่มีการกำหนดระดับตาและมุมมองที่แน่นอน
3.2.1.2. การใช้ช่องว่างเป็นแบบเปิด สายหมอกที่เชื่อมต่อกัน
3.2.1.3. ห้ามเขียนภาพแสดงความดุร้ายของธรรมชาติ
3.3. งานสถาปัตยกรรม
3.3.1. Double roof
3.4. งานประติมากรรม
3.4.1. มีความเกี่ยวข้องกับศาสนา ความเชื่อ หรือลัทธิต่างๆ
3.5. ดนตรี
3.5.1. ดนตรีในแต่ละภูมิภาคแตกต่างกัน
3.5.2. เครื่องดนตรี
3.5.2.1. ซุน
3.5.2.2. ขลุ่ย
3.5.2.3. กลอง
3.5.2.4. กู่เจิง
4. สุโขทัย
4.1. มีการสร้างสรรค์งานศิลปะที่เกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนาเป็นส่วนใหญ่
4.2. ดนตรี
4.2.1. ประเภทวงดนตรี
4.2.1.1. วงบรรเลงพิณ
4.2.1.2. วงขับไม้
4.2.1.3. วงปี่พาทย์เครื่องห้า
4.2.1.4. วงมโหรี
4.2.2. ประเภทเครื่องดนตรี
4.2.2.1. เครื่องดีด
4.2.2.2. เครื่องสี
4.2.2.3. เครื่องตี
4.2.2.4. เครื่องเป่า
4.2.2.5. ประเภทที่เกิดเสียงจากไม้
5. อียิปต์
5.1. พีระมิด
5.1.1. อิทธิพล : กองทรายตามธรรมชาติ
5.1.2. Mastaba -> Pyramid of Djoser -> Pyramid
5.2. สฟิงซ์
5.2.1. ตัวเป็นสิงโต หัวเป็นคน
5.2.2. ดูแลสุสาน
5.2.3. อิทธิพล : หินตามธรรมชาติที่โดนกัดกร่อน
5.3. ฟาโรห์
5.3.1. Ramesses II
5.3.1.1. The great temple of Abu Simbel
5.3.1.1.1. สลักภาพตัวเองไว้ที่ทางเข้า
5.3.1.2. ภาพ Battle of Qadesh
5.3.1.2.1. จริง : ฮิตไทต์ชนะ
5.3.1.2.2. ภาพ : อียิปต์ชนะ
5.3.2. Akhenaten
5.3.2.1. เปลี่ยนให้นับถือเทพองค์เดียว
5.3.2.2. ภาพสลัก
5.3.2.2.1. ตัวเองบูชาเทพ Aten
5.3.2.2.2. ครอบครัวบูชาเทพ Aten
5.3.2.3. Nefertiti
5.3.2.3.1. ราชินี
5.3.2.3.2. มีภาพประติมากรรม คนครึ่งตัว
5.3.2.4. Tutankhamun
5.3.2.4.1. บุตรชาย
5.3.2.4.2. The boy king's golden mask
5.4. Obelisk
5.4.1. ประติมากรรม สี่เหลี่ยมแนวตั้ง ยอดคล้ายพีระมิด
5.4.2. สัญลักษณ์การบูชาเทพเจ้า
5.4.3. แรงบันดาลใจ : sun pillar
5.5. งานจิตรกรรม
5.5.1. ไม่ได้เขียนตามความเป็นจริง
5.5.2. เขียนจากความเข้าใจ
5.5.3. ใบหน้าหันข้าง แต่ตาเหมือนมองจากหน้าตรง
5.5.4. มือไม่แยกซ้ายขวา นิ้วชี้-ก้อยเท่ากัน
5.6. การละคร
5.6.1. เล่นเพื่อบวงสรวงเทพเจ้า
6. กรีก
6.1. Acropolis of Aten
6.1.1. Theater of Dionysus
6.1.2. The Odeon of Herodes Atticus
6.1.3. The Erechtheum
6.1.4. The Parthenon
6.1.4.1. บูชาเทพ Athena
6.1.4.2. สร้างจากหินอ่อน
6.1.4.2.1. หินจาก Mount Pentelikon
6.1.4.2.2. ใช้รถลากขน
6.2. งานประติมากรรม
6.2.1. เต็มไปด้วยภาพเปลือย
6.2.2. การสร้างเทพเจ้า จะสร้างในรูปแบบมนุษย์ที่มีร่างกายสมบูรณ์
6.2.3. Apollo Belvedere
6.3. งานจิตรกรรม
6.3.1. ตัวดำบนพื้นแดง
6.3.2. ตัวแดงบนพื้นดำ
6.4. รู้จักใช้เครื่องมือต่างๆในการก่อสร้าง
6.5. รู้เรื่อง Perspective
6.6. การละคร
6.6.1. เล่นถวายเทพเจ้า
6.6.2. มีพื้นฐานจากเรื่องราวของเทพเจ้า
6.6.3. ประเภท
6.6.3.1. สุขอนาฏกรรม
6.6.3.2. โศกอนาฏกรรม
7. โรมัน
7.1. คิดค้นคอนกรีต
7.1.1. ทำจากเถ้าภูเขาไฟ
7.1.2. ทำให้สร้างสถาปัตยกรรมที่ใหญ่และแข็งแรงได้
7.2. มีรากฐานมาจาก อารยธรรมกรีก
7.3. Roman Sarcophagus
7.3.1. โลงศพคนโรมัน
7.3.2. ผนังโลงจะมีการสลักภาพชีวประวัติของศพ
7.4. งานประติมากรรม
7.4.1. ถ้าจัดงานคนต้องครบ ถ้าตายจะต้องปั้นภาพเหมือนมาตั้งในงาน
7.4.2. นิยมเป็นภาพเหมือนคน
7.5. การใช้ระบบคานโค้ง
7.5.1. Collosseum
7.5.1.1. โรงมหรศพ สนามกีฬา
7.5.1.2. เป็นอาคารหลายชั้น
7.5.2. ท่อส่งน้ำ
7.6. งานจิตรกรรม
7.6.1. บอกเล่าวิถีชีวิต
7.6.2. มักเป็นภาพเหม่อแบบครุ่นคิด
7.7. ชาวโรมันมักจะรักสวยรักงาม
7.8. ดนตรี
7.8.1. นำวัฒนธรรมจากที่ที่ตนไปยึดมาปนชระยุกต์
7.8.2. มีทั้งดนตรีทางโลกและศาสนา
7.8.3. เครื่องดนตรี
7.8.3.1. ลิทอุส : แตรรูปตัว J
7.8.3.2. กีธารา : เครื่องดนตรีกรีก
7.8.3.3. ปี่ทิเบีย : เดิมคือ ปี่เอาลอส
7.9. การละคร
7.9.1. นิยมละครตลก เน้นการเฉลิมฉลอง ความมั่งคั่ง และอำนาจของมนุษย์
7.9.2. ตัวละครไม่มีความสูงส่ง
7.9.3. การแสดงลดความสำคัญลง จนศาสนจักรห้ามประชาชนไปดู