การส่งเสริมสุขภาพสตรีวัยเจริญพันธุ์

Breve mapa mental sobre EaD

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การส่งเสริมสุขภาพสตรีวัยเจริญพันธุ์ by Mind Map: การส่งเสริมสุขภาพสตรีวัยเจริญพันธุ์

1. 2.ระยะตั้งครรภ์

1.1. อสม

1.1.1. ให้การดูแลหญิงตั้งครรภ์ ส่งต่อข้อมูลกับ จนท.สาธารณสุข

1.2. อปท/อบต.

1.2.1. สนับสนุนงบประมาณการดูแลสุขภาพ เช่น โครงการเงินสนับสนุน อาหาร โภชนาการ

1.3. เพื่อนแม่อาสา

1.3.1. ให้คำแนะนำการดูแลสุขภาพ

1.3.1.1. Role Model

1.4. กู้ชีพ/FR

1.4.1. การส่งต่อคนไข้

1.4.2. ให้การดูแลหญิงตั้งครรภ์ในสถานการณ์ฉุกเฉินในเบื้องต้นได้

1.5. คลินิกฝากครรภ์คุณภาพ

1.5.1. จัดระบบบริการตามมาตรฐาน

1.5.2. ส่งต่อข้อมูลการดูแล ส่งเสริมสุขภาพให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

1.6. เครือข่าย RSA

1.6.1. สนับสนุนทางเลือกการตั้งครรภ์ไม่พร้อม

1.7. สปสช

1.7.1. สนับสนุนงบประมาณด้านสุขภาพ

1.7.1.1. การคัดกรองโรค เช่น ธาลัสซีเมีย ดาวน์ซินโดรม/งบประมาณด้านการดูแลตามมาตรฐานขณะตั้งครรภ์

2. 1.ระยะก่อนตั้งครรภ์

2.1. โรงเรียน

2.1.1. คลินิก YFHS พัฒนาการวัยรุ่น มีความรู้แนวทางการป้องกันและ การดูแลอนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น

2.1.2. ให้คำปรึกษาเรื่องเพศศึกษา

2.2. อสม,หมอครอบครัว

2.2.1. ค้นหาหญิงวัยเจริญพันธุ ให้คำแนะนำเบื้องต้นเรื่องการคุมกำเนิด การเตรียมความพร้อมก่อนตั้งครรภ์ จัดเก็บส่งต่อข้อมูล

2.2.2. จัดแจกให้ยาเม็ดเสริมธาตุเหล็กและกรดโฟลิกในหญิงวัยเจริญพันธุ์ ที่ต้องการมีบุตร

2.3. อปท/อบต.

2.3.1. สนับสนุนงบประมาณจากกองทุนสุขภาพตำบล

2.3.2. ร่วมกำหนดแผนงาน นโยบาย

2.4. ผู้นำชุมชน

2.4.1. มีส่วนร่วมวางแผน ประกาศนโยบายการดูแลสุขภาพกลุ่มวัยสู่ชมชน ประชาสัมพันธ์การเข้าถึงบริการสุขภาพ

2.5. พชอ.

2.5.1. จัดทำแผนพัฒนาคุณภาพชีวิต ที่เชื่อมโยงระบบบริการปฐมภูมิกับชุมชนและท้องถิ่นกำกับติดตาม การดำเนินงานด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ

3. 4.ระยะหลังคลอด/การดูแลบุตร

3.1. อสม/care giver

3.1.1. ตืดตามเยี่ยมหลังคลอด

3.1.2. ส่งต่อข้อมูลกับทีมสุขภาพ

3.1.3. ให้คำแนะนำการปฏิบัติตัว การดูแลสุขภาพ

3.2. แม่ตัวอย่าง

3.2.1. ร่วมติดตามเยี่ยม ให้คำแนะนำการเป็นพ่อแม่คุณภาพ การดูแล ส่งเสริมพัฒนาการบุตร

3.2.2. กลุ่มสนุบสนุนนมแม่

3.3. ปราชญ์ชาวบ้าน

3.3.1. ให้คำแนะนำการเลี้ยงดู การส่งเสริมพัฒนาการตามภูมิปัญญาชาวบ้าน

3.4. อบต./อปท.

3.4.1. สนับสนุนงบประมาณการดูแลสุขภาพหลังคลอด เช่น เงินเลี้ยงดูบุตร

3.4.2. ขึ้นทะเบียนตามกลุ่มวัย

3.4.3. สนับสนุนการจัดตั้ง จัดบริการของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กหรือศูนย์ที่ดำเนินกิจกรรมเกี่ยวกับการพัฒนาและดูแลเด็กเล็กในชุมชน

3.5. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

3.5.1. ให้การดูแลตามมาตรฐานส่งเสริมพัฒนาการการเรียนรู้ของเด็กก่อนปฐมวัย

3.5.2. เครื่องเล่น/ของเล่นส่งเสริมพัฒนาการ สถานที่ปลอดภัย

3.6. กลุ่มการดูแลแพทย์แผนไทย

3.6.1. ร่วมดูแลหลังคลอด เช่นทับหม้อเกลือ การใช้สมุนไพรบำรุงน้ำนม นวด ประคบเต้านม

3.7. คลินิกประเมินพัฒนาการ

3.7.1. ให้คำแนะนำ ประเมินพัฒนาการ ส่งเสริมพัฒนาการ และส่งต่ออย่างเหมาะสม

3.8. พม.

3.8.1. ร่วมดูแลผู้ที่มีปัญหาทางสังคม

3.8.2. ส่งต่อให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

3.9. สถานประกอบการ/ที่ทำงาน

3.9.1. สนับสนุนมุมนมแม่

3.9.2. การลางานตามตามพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ.2541 มาตรา 41 แก้ไข ฉบับที่ 7 ปี 2562 บัญญัติว่า “ ให้ลูกจ้างซึ่งเป็นหญิงมีครรภ์มีสิทธิลาเพื่อคลอดบุตรครรภ์หนึ่งไม่เกินเก้าสิบแปดวัน วันลาเพื่อคลอดบุตรตามมาตรานี้ให้หมายความรวมถึงวันลาเพื่อตรวจครรภ์ก่อนคลอดบุตรด้วย"

3.10. ประกันสังคม

3.10.1. ค่าคลอดบุตร ค่าเลี้ยงดูบุตร

4. 3.ระยะคลอด

4.1. ห้องคลอดคุณภาพ

4.1.1. จัดระบบบริการตามมาตรฐาน

4.1.2. ส่งต่อที่เหมาะสมกับสภาวะสุขภาพของผู้คลอด

4.1.3. ส่งต่อข้อมูลการดูแลกับทีมสุขภาพ

4.2. การแพทย์แผนไทยประยุกต์

4.2.1. นวด ประคบเต้านม

4.3. ครอบครัว

4.3.1. สนัลสนุนการดูแล ให้กำลังใจ

4.4. MIss นมแม่

4.4.1. สนับสนุนให้คำแนะนำส่งเสริมการเลี้ยงดูด้วยนมแม่