ระบบต่อมไร้ท่อ

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ระบบต่อมไร้ท่อ by Mind Map: ระบบต่อมไร้ท่อ

1. ต่อมไพเนียล (Pineal Gland)

1.1. เป็นต่อมขนาดเล็ก

1.2. อยู่บริเวณกึ่งกลางของสมอง ส่วนเซรีบรัม (Cerebrum)

1.3. สร้างฮอร์โมนเมลาโทนิน (Melatonin) เพื่อยับยั้ง การเจริญเติบโตของต่อมเพศในช่วงก่อนวัยรุ่น

2. ต่อมไทรอยด์ (Thyroid Gland)

2.1. เป็นต่อมที่มีขนาดใหญ่กว่า ทุกต่อมไร้ท่ออื่น ๆ มี 2 ข้าง

2.2. ควบคุมการเจริญเติบโตของร่างกายผ่านระบบเผาผลาญพลังงาน (Metabolism)

2.3. ทำหน้าที่ผลิตฮอร์โมน ไทรอกซิน (Thyroxin) ฮอร์โมน Thyroxin

3. ต่อมไทมัส(Thymus Gland)

3.1. ตั้งอยู่บริเวณทรวงอก

3.2. ผลิตฮอร์โมนออกมาควบคุม การทำงานของระบบภูมิต้านทานโรค (Antibody) ของร่างกาย

4. ต่อมหมวกไต (Adrenal Gland)

4.1. มีรูปร่างแบนคล้ายหมวก ครอบอยู่บนไต

4.2. ทำหน้าที่ผลิตฮอร์โมนดังนี้

4.2.1. กลูโคคอร์ติคอยด์ (Glucocorticoid Hormone)

4.2.1.1. เกี่ยวกับการเผาผลาญคาร์โบไฮเดรต ไขมัน และโปรตีน

4.2.2. มิเนอราโลคอร์ติคอยด์ (Mineralocorticoid)

4.2.2.1. ควบคุมจำนวนน้ำและเกลือ (Electrolyte)

4.2.3. ฮอร์โมนเพศ (Sex Hormone)

4.2.3.1. แอนโดรเจน (Androgen)

4.2.3.2. เอสโทรเจน (Estrogen)

4.2.3.3. โพรเจสเทอโรน (Progesterone)

5. การสร้างเสริมประสิทธิภาพของระบบต่อมไร้ท่อ

5.1. กินอาหารที่มีคุณค่าครบทั้ง 5 หมู่

5.2. หลีกเลี่ยงแอลกอฮอล์และผลิตภัณฑ์ที่เป็นยาสูบ รวมทั้งเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน

5.3. กินอาหารทะเลหรือเกลือที่มีธาตุไอโอดีน

5.4. ดื่มน้ำในปริมาณที่เพียงพอ วันละ 6 – 8 แก้ว

5.5. ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ อย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วัน วันละ 30 นาที

5.6. พักผ่อนให้เพียงพออย่างน้อยวันละ 8 ชั่วโมง

5.7. ตรวจสุขภาพอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง

6. นายภคิน แซ่โค้ว ม.6/4 เลขที่3

7. ผลิตฮอร์โมนพาราไทรอยด์ (Parathyroid)

8. ต่อมพาราไทรอยด์ (Parathyroid Gland)

8.1. อยู่ด้านล่างของต่อมไทรอยด์

8.2. เป็นต่อมที่เล็กที่สุดมี 2 คู่

8.3. ควบคุมปริมาณของแคลเซียมและฟอสเฟตในเลือด

8.3.1. ต่อมใต้สมอง(Pituitary Gland)

8.3.1.1. ต่อมใต้สมองส่วนหน้า (Anterior Pituitary)

8.3.1.1.1. ฮอร์โมนควบคุมการเจริญเติบโตของ ร่างกาย

8.3.1.1.2. ฮอร์โมนที่กระตุ้นต่อมไทรอยด์

8.3.1.1.3. ฮอร์โมนที่กระตุ้นต่อมหมวกไตส่วนนอก

8.3.1.1.4. ฮอร์โมนที่กระตุ้นต่อมเพศ

8.3.1.1.5. ฮอร์โมนควบคุมการเจริญเติบโตของเต้านมและต่อมน้ำนม

8.3.1.2. ต่อมใต้สมองส่วนหลัง (Posterior Pituitary)

8.3.1.2.1. ผลิตฮอร์โมนออกซิโตซิน(Oxytocin) ที่มีผลต่อการหลั่งของน้ำนม และการบีบตัวของมดลูกขณะคลอดบุตร

8.3.1.2.2. ผลิตฮอร์โมนวาโสเพรสซิน (Vasopressin) ควบคุมสมดุลน้ำของร่างกาย

9. ต่อมที่อยู่ในตับอ่อน (Islets of Langerhans)

9.1. ทำหน้าที่ผลิตฮอร์โมนอินซูลิน (Insulin) ควบคุมปริมาณน้ำตาลในร่างกาย

10. ต่อมเพศ

10.1. ต่อมเพศของผู้ชาย คือ อัณฑะ

10.1.1. สร้างอสุจิซึ่งเป็นเซลล์สืบพันธุ์เพศชาย

10.1.2. สร้างฮอร์โมนเพศชาย

10.1.2.1. ทำหน้าที่ควบคุมพัฒนาการในความเป็นชาย เช่น หนวด เครา การหลั่งน้ำอสุจิ ขนหน้าแข้ง เสียงห้าว

10.1.2.2. คือ เทสโทสเทอโรน(Testosterone)

10.2. ต่อมเพศของผู้หญิง คือ รังไข่

10.2.1. สร้างเซลล์ไข่ซึ่งเป็นเซลล์สืบพันธุ์เพศหญิง

10.2.2. สร้างฮอร์โมนเพศหญิง

10.2.2.1. คือ เอสโทรเจน (Estrogen) และ โพรเจสเทอโรน(Progesterone)

10.2.2.2. ทำหน้าที่ควบคุมพัฒนาการความเป็นหญิง เช่น

10.2.2.2.1. เสียงเล็ก

10.2.2.2.2. เอวคอด

10.2.2.2.3. มีประจำเดือน

10.2.2.2.4. เต้านมใหญ่ขึ้น

10.2.2.2.5. ใบหน้าแก้มเปล่งปลั่ง

10.2.2.2.6. สะโพกขยาย

11. ความสัมพันธ์ของการทำงานของระบบต่าง ๆ ในร่างกาย

11.1. ระบบประสาททำหน้าที่รับความรู้สึกตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อม เมื่อพบกับสิ่งเร้าที่ไม่คาดคิดก็จะทำงานสัมพันธ์กับระบบต่อมไร้ท่อ

11.2. ระบบประสาททำงานสัมพันธ์กับระบบสืบพันธุ์ในการรับรู้ความรู้สึกทางเพศ

11.3. ระบบต่อมไร้ท่อทำงานประสานสัมพันธ์กับระบบสืบพันธุ์ที่มีผลต่อการบีบตัวของมดลูก คลอดบุตร และการหลั่งน้ำนม