Get Started. It's Free
or sign up with your email address
Fungi by Mind Map: Fungi

1. ลักษณะสำคัญ

1.1. เซลล์เป็นแบบ Eucaryotic cell มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส

1.2. ไม่มีคลอโรฟิลล์ ดำรงชีวิตเป็นผู้ย่อยสลายสารอินทรีย์ที่เน่าเปื่อย

1.3. ผนังเซลล์เป็นสารไคตินกับเซลลูโลส

1.4. มีทั้งเซลล์เดียวและเป็นเส้นใยเล็ก เรียกว่าไฮฟา (Hypha) รวมกลุ่ม เรียกว่าขยุ้มรา (mycelium)

1.4.1. เส้นใยมีผนังกั้น (Septate hypha)

1.4.1.1. อาจมีรูเดียวหรือหลายรูที่ผนัง ทำให้ไรโบโซม ไมโทคอนเดรีย หรือนิวเคลียสไหลจากเซลล์หนึ่งไปอีกเซลล์หนึ่งได้

1.4.2. เส้นใยที่ไม่มีผนังกั้น (Nonseptate hypha or coencytic hypha)

1.4.2.1. เกิดจากการแบ่งนิวเคลียสโดยไม่แบ่งไซโทพลาซึม ทำให้ไซโทพลาซึมและนิวเคลียสติดต่อกันได้หมด

1.4.3. ไฮฟา Hypha

1.4.4. เส้นใยของฟังไจ อาจแบ่งเป็น 2 ชนิดตามหน้าที่

1.4.4.1. เส้นใยที่ยึดเกาะอาหารมีหน้าที่ดูดซึมอาหารที่ย่อยแล้ว

1.4.4.2. เส้นใยของฟังไจอาจเปลี่ยนแปลงรูปร่างเพื่อทำหน้าที่พิเศษ

1.4.4.2.1. ไรซอยด์ (Rhizoid) มีลักษณะคล้ายรากพืชยื่นออกจากไมซีเลียมเพื่อยึดให้ติดกับผิวอาหารและช่วยดูดซึมอาหารด้วย

1.4.4.2.2. ฮอสทอเรียม (Haustorium) หรืออาร์บาสคิว (Arbuscules)เป็นเส้นใยที่ยื่นเข้าเซลล์โฮสต์เพื่อดูดซึมอาหารจากโฮสต์พบในราที่เป็นปรสิต

1.4.4.3. เส้นใยที่ยื่นไปในอากาศ (Fruiting Body) ทำหน้าที่สร้างสปอร์เพื่อสืบพันธุ์

1.5. มีทั้งการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศที่อาศัยการรวมตัวกันของเซลล์สืบพันธุ์และนิวเคลียส (Conjugation) และแบบไม่อาศัยเพศ

1.5.1. การสืบพันธุ์โดยการสร้างสปอร์ทั้งแบบอาศัยเพศ (sexual reproduction) ซึ่งจะเกิดขึ้นเมื่ออยู่ในสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม

1.5.2. การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ (Asexual Reproduction)

1.5.2.1. การสร้างสปอร์ (Sporulation)

1.5.2.2. การหักหรือขาดออกเป็นท่อน (Fragmentation)

1.5.2.3. การหักหรือขาดออกเป็นท่อน (Fragmentation)

1.5.2.4. การแตกหน่อ (Budding)

1.5.2.5. การแบ่งตัว (Fission)

2. อาณาจักรฟังไจสามารถจำแนกออกเป็น 4 ไฟลัม (Phylum)

2.1. ไคทริดิโอไมโคตา (Chytridiomycota)

2.1.1. ลักษณะสำคัญ

2.1.1.1. เป็นแทลลัสขนาดเล็ก ที่พบโดยส่วนใหญ่จะไม่มีการสร้างเส้นใย และเส้นใยไม่มีผนังกั้น (Coenocytic Hypha)

2.1.1.1.1. มีการสร้าง sporangium และมีไรซอยด์ ทำหน้าที่ดูดอาหาร

2.1.1.2. สมาชิกในไฟลัมนี้เรียกว่า ไคทริด (Chytrid) หรือราน้ำ

2.1.1.2.1. เป็นฟังใจกลุ่มแรกที่มีวิวัฒนาการมาจากโพรทิสต์ที่มีแฟลเจลลัม

2.1.1.2.2. บางชนิดอาศัยในดินชื้นแฉะ บางชนิดทำหน้าที่เป็นผู้ย่อยสลาย (Saprophytism) ช่วยย่อยสลายสารอินทรีย์

2.1.1.2.3. บางชนิดเป็นปรสิตในพวกโพรทิสต์ พืช และสัตว์

2.1.1.3. Allomyces sp

2.1.1.4. Chytridium sp

2.1.1.5. ผนังเซลล์ของฟังใจกลุ่มนี้ประกอบด้วย สารโคทิน สปอร์และแกมีตมีแฟลเจลลัม 1 เส้นที่เรียกว่า ซูโอสปอร์ (Zoospore)

2.1.1.5.1. ช่วยในการเคลื่อนที่ อาหารสะสมเป็นไกลโคเจน

2.1.1.6. สืบพันธุ์ได้ทั้งแบบอาศัยเพศและไม่อาศัยเพศ

2.1.1.6.1. สืบพันธุ์ไม่แบบอาศัยเพศเท่านั้น โดยสร้างสปอร์ที่เรียกว่า โคนิเดีย (conidia) จึงเรียกราในกลุ่มนี้ว่า Fungi Imperfecti

2.1.1.6.2. แต่หากเมื่อใดมีการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศจะไปอยู่ใน Ascomycetes และ Basidiomycetes

2.1.2. ประโยชน์

2.1.2.1. Penicillium chrysogernum ใช้ผลิตยาปฏิชีวนะเพนิซิลลิน

2.1.2.2. Aspergillus wendtii ใช้ผลิตเต้าเจี้ยว

2.1.2.3. A. oryzae ใช้ผลิตเหล้าสาเก

2.1.3. โทษ

2.1.3.1. ทำให้เกิดโรคในพืช

2.1.3.2. สร้างสารพิษ ทำให้เกิดโรค

2.1.3.3. ทำให้เกิดโรคในคน เช่น กลาก เกลื้อน โรคเท้าเปื่อยหรือฮ่องกงฟุต

2.2. ไซโกไมโคตา (Zygomycota)

2.2.1. ลักษณะสำคัญ

2.2.1.1. ไฮฟาไม่มีผนังกั้น (Coenocytic Hypha) แต่จะพบผนังกั้นในระยะที่จะสร้างเซลล์สืบพันธุ์จึงเห็นนิวเคลียสจำนวนมาก ผนังเซลล์เป็นสารไคทิน

2.2.1.2. ฟังไจกลุ่มนี้มีการดำรงชีวิตอยู่ในดินที่มีความชื้นและซากสิ่งมีชีวิตเป็นส่วนใหญ่ ดูดสารอินทรีย์จากซากพืชซากสัตว์

2.2.1.3. ดำรงชีวิตแบบปรสิต(Parasite) และผู้ย่อยสลาย (saprophyte)

2.2.1.4. การสืบพันธุ์

2.2.1.4.1. - แบบไม่อาศัยเพศ สร้างสปอร์ เรียกว่า sporangiospore - แบบอาศัยเพศ สร้างสปอร์ เรียกว่า zygospore

2.2.1.5. บางชนิดอาจมีโครงสร้างที่เรียกว่า “ไรซอยด์” (Rhizoid)

2.2.1.5.1. ใช้ในการยึดเกาะกับแหล่งอาหาร ราส่วนใหญ่อาศัยอยู่บนบก หรือบนอินทรียวัตถุที่กำลังย่อยสลาย

2.2.2. ประโยชน์

2.2.2.1. Rhizopus oryzae ผลิตแอลกอฮอล์

2.2.2.2. R. nigricans ผลิตกรดฟูตริก

2.2.3. โทษ

2.2.3.1. ทำให้เกิดโรคในพืชและสัตว์

2.3. แอสโคไมโคตา (Ascomycota)

2.3.1. ลักษณะสำคัญ

2.3.1.1. เป็นฟังไจที่มีจำนวนชนิดมากที่สุดมีรูปร่างทั้งแบบเซลล์เดียวและหลายเซลล์ลักษณะของเส้นใยมีผนังกั้น (Septate Hypha)

2.3.1.1.1. เซลล์เดียว ได้แก่ ยีสต์ นอกนั้นเป็นพวกมีเส้นใยมีผนังกั้นและเป็นราคล้ายถ้วย (cup fungi)

2.3.1.2. ผนังเซลล์ประกอบด้วยสารไคทิน อาจเรียกราพวกนี้ว่า ราถุง (sac fungi)

2.3.1.3. ดำรงชีวิตบนบก

2.3.1.4. การสืบพันธุ์

2.3.1.4.1. แบบไม่อาศัยเพศ

2.3.1.4.2. .

2.3.1.4.3. แบบอาศัยเพศ

2.3.1.5. Saccharomyces cerevesiae ที่ใช้ในการทำเบียร์ ไวน์ ขนมปัง

2.3.1.6. Neurospora sp. เป็นสาเหตุทำให้ขนมปังเสียและพบขึ้นตามตอซังข้าวโพด

2.3.2. ประโยชน์

2.3.2.1. Saccharomyces cerevisiae ใช้ผลิตแอลกอฮอล์ และมีโปรตีนสูง

2.3.2.2. Monascus sp. ใช้ผลิตข้าวแดงและเต้าหู้ยี้

2.3.3. โทษ

2.3.3.1. เกิดโรคกับคนและสัตว์

2.4. เบสิดิโอไมโคตา (Basidiomycota)

2.4.1. ลักษณะสำคัญ

2.4.1.1. ฟังไจกลุ่มนี้มีวิวัฒนาการสูงสุด

2.4.1.2. มีเส้นใยที่มีผนังกั้นสมบูรณ์มีการ

2.4.1.3. การสืบพันธุ์

2.4.1.3.1. แบบไม่อาศัยเพศ

2.4.1.3.2. แบบอาศัยเพศ

2.4.1.4. เส้นใยมีผนังกั้นและรวมตัวอัดแน่นเป็นแท่งคล้ายลำต้น เช่น ดอกเห็ด

2.4.2. ประโยชน์

2.4.2.1. ใช้เป็นแหล่งอาหาร

2.4.3. โทษ

2.4.3.1. ทำให้เกิดโรคในพืช เช่น ราสนิม ราเขม่า

2.4.3.2. เห็ดรา มีสารพิษเข้าทำลายระบบประสาท ทางเดินอาหาร ตับ หัวใจ

3. บทบาทของฟังไจ

3.1. ดำรงชีวิตเป็นผู้ย่อยสลายซึ่งทำให้เกิดการหมุนเวียนของธาตุคาร์บอนไนโตรเจนและสารอื่น ๆ ในระบบนิเวศ

3.2. ใช้ย่อยสลายขยะมูลฝอยและซากอินทรีย์

3.3. ใช้ในด้านอุตสาหกรรมต่าง ๆ

3.3.1. ยีสต์ Saccharomyces cerevisiae ใช้ทำขนมปังและผลิตเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์

3.3.1.1. เครื่องดื่มแอลกอฮอล์

3.3.1.2. อุตสาหกรรมเบเกอรี่

3.3.2. Aspergillus niger ใช้ผลิตกรดซิตริกหรือกรดส้มจากน้ำตาล

3.3.3. Penicillium notatum ใช้ผลิตยาปฏิชีวนะเพนิซิลลิน

3.4. ใช้ประกอบอาหาร

3.4.1. เห็ดหอม

3.4.2. เห็ดหูหนู

3.4.3. เห็ดฟาง

3.4.4. เห็ดเป๋าฮือ

3.4.5. เห็ดเข็มทอง

3.4.6. เห็ดออริจิ

3.5. สร้างสารพิษ

3.5.1. Aspergillus flavas สร้างสารพิษอะฟลาทอกซิน (aflatoxin) ที่เป็นสารก่อมะเร็งในตับ

3.5.1.1. ตัวอย่างเห็ดที่มีพิษ

3.5.1.1.1. Amanita muscaria

3.5.1.1.2. Amanita phalloides

3.6. ก่อให้เกิดโรคในพืช

3.6.1. โรคราน้ำค้างในองุ่น

3.6.2. โรคราสนิม

3.6.3. โรคใบไหม้ในมันฝรั่ง

3.7. บางพวกเป็นปรสิตทำให้เกิดโรคกับพืชสัตว์และคน เช่น ทำให้เกิดโรคผิวหนัง กลาก เกลื้อน โรคเปื่อยตามง่ามนิ้วมือนิ้วเท้า