เงินเฟ้อ

Just an initial demo map, so that you don't start with an empty map list ...

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
เงินเฟ้อ by Mind Map: เงินเฟ้อ

1. หลักการวัด QoQ YoY

2. Too much inflation

3. เงินเฟ้อไม่ได้เลวร้ายเสมอไป

3.1. ระดับของเงินเฟ้อที่ดี

4. Cost-Push

4.1. ผู้ผลิตคาดว่าแรงงานจะขอขึ้นค่าจ้าง => ผลักภาระไปให้คนซื้อ => แรงงานขอขึ้นค่าแรงจริง =>> วงจร

5. เงินเฟ้อระดับต่ำๆจะกระตุ้นให้เศรษฐกิจขยายตัว = คนใช้เงินเพราะเก็บไว้ก็มูลค่าลด = เกิดการขยายกิจการและจ้างงาน ในขณะที่ผลเสียจาำเงินเฟ้อเช่นความไม่แน่นอนในการลงทุน ฯลฯ ยังไม่materialized มาก

6. คนกินชะลอการกิน คนผลิตชะลอการลงทุน expectation kicks in = downward spiral

7. Built-in (Wage/Price Spiral)

8. Headline vs Core ฯลฯ

8.1. basket group

9. สินค้า<ความต้องการ โดยความต้องการที่เพิ่มขึ้นอาจจะมาจาก 1)เอกชนบริโภค 2)ภาครัฐบริโภค 3)เอกชนลงทุน 4)ส่งออกโต

10. Monetary policy transmission mechanism / credit channel etc.

11. เงินฝืด (Deflation)

11.1. หากเป็นเงินฝืดที่เกิดจากภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ = ความต้องการบริโภคลดลง จะก่อให้เกิดปัญหา

12. ทำไมเราจึงต้องการเงินเฟ้อ

13. "believed" to be 2-3%

14. ของราคาขึ้น = เงินมูลค่าลดลง

15. ความสัมพันธ์ของเงินเฟ้อและอัตราดอกเบี้ย

16. = ต้นทุนขึ้น นำไปสู่การขึ้นราคา eg. วัตถุดิบ ค่าจ้าง ค่าขนส่ง ขึ้นกำไร

17. เงินเฟ้อคืออะไร?

18. สาเหตุของเงินเฟ้อ

18.1. Demand-Pull

19. เงินเฟ้อวัดยังไง

20. ทำไมเงินเฟ้อไม่ดี

21. Nominal vs Real

21.1. ทำให้ผู้ผลิตไม่สามารถวางแผนการผลิตและลงทุนได้ เพราะไม่รู้ว่าวัตถุดิบที่จะซื้อเข้ามาราคาจะเป็นเท่าไร จะตั้งราคาสินค้าเท่าไร เพื่อให้ยังมีกำไร ขณะที่ประชาชนซึ่งเป็นผู้บริโภคเองก็ไม่แน่ใจว่าราคาสินค้าจะแพงขึ้นอีกหรือไม่ เงินจำนวนเท่าเดิมที่มีอยู่ในกระเป๋าก็ด้อยค่าลงไป เพราะข้าวของแพงขึ้น ทำให้ซื้อของได้น้อยลง ธุรกิจก็ขายของได้น้อยลง

22. ธปท. ควบคุมเงินเฟ้ออย่างไร