1. 3.Alkyne
1.1. เกิดเหมือน alkene ทุกประการแต่แค่จำนวนโมลของ สารคู่ปฏิกิริยา เป็นสองเท่าของ alkene
1.1.1. Addition of Hydrogen การเพิ่มเข้าด้วยไฮโดรเจน
1.1.2. Addition of halogen การเพิ่มเข้าด้วยฮาโลเจน
1.1.3. Addition of Hydrogen Halide การเพิ่มเข้าด้วยไฮโดรเจน ฮาไลด์
2. 4.Aromatic
2.1. ปฏิกิริยาการแทนที่(เกิดง่าย)
2.1.1. Halogenation การแทนที่ด้วยฮาโลเจน
2.1.2. Nitration การแทนที่ด้วยหมู่ไนโตร
2.2. ปฏิกิริยาการเพิ่มเข้า(เกิดยาก)
2.2.1. Hydrogenenation การเพิ่มไฮโดรเจน
2.2.2. Oxydation (product O จะเพิ่มขึ้น)
3. 5.Alcohol
3.1. การเตรียมแอลกอฮอล์
3.1.1. ปฏิกิริยาการเพิ่มน้ำของอัลคีน
3.1.2. ปฏิกิริยาไฮโดรไลซิสของอัลคิลฮาไลด์
3.1.3. ปฏิกิริยารีดักชั่น
3.2. ปฏิกิริยาของแอลกอฮอล์
3.2.1. ปฏิกิริยาการขจัดน้ำ
3.2.2. ปฏิกิริยากับเอสเทอร์
3.2.3. ปฏิกิริยา Oxydation
4. 6.Ether
4.1. การเตรียม Ether (เกิดยากเพราะมีแต่อะตอม O ไม่มี H เกาะอยู่ด้วย)
4.1.1. การขจัดน้ำออกจากแอลกอฮอล์
4.1.2. เตรียมจาก alkene และ peracid (RCO2OH)
5. 7.Aldehyde
5.1. การเตรียม Aldehyde
5.1.1. Oxydation reaction Oxydized จาก Primary OH (ต้องหน่วงปฏิกิริยา ใช้ความเย็น)
5.1.2. Reduction reaction Reduction acyl chloride (ต้องหน่วงปฏิกิริยา ใช้ Poison)
5.2. ปฏิกิริยาของ aldehyde
5.2.1. Oxydation
5.2.1.1. จาก aldehyde เป็น caboxylic
5.2.1.2. ใช้ Tollen's reagent
5.2.2. Reduction จาก Aldehyde เป็น Primary OH
6. 8.Ketone
6.1. การเตรียม Ketone
6.1.1. Oxydized จาก Secondary OH
6.2. ปฏิกิริยาของ Ketone
6.2.1. Oxydation
6.2.2. Reduction จาก Ketone เป็น Secondary OH
7. 1.Alkane
7.1. Alkane
7.1.1. Halogenation การเติมเข้าไปใน Substrate
7.1.2. Combusion การเผาไหม้หรือการสันดาป
7.2. Cycloalkane
7.2.1. Halogenation การแทนที่ด้วยหมู่ 7
8. 2.Alkene
8.1. การเตรียม alkene
8.1.1. ปฏิกิริยาการกำจัด
8.1.1.1. กำจัดโมเลกุลของน้ำออกจากแอลกอฮอล์
8.1.1.2. กำจัดไฮโดรเจนแฮไลด์ออกจากอัลคิลแฮไลด์
8.2. กระทำต่อพันธะคู่
8.2.1. Addition of Hydrogen การเพิ่มเข้าด้วยไฮโดรเจน
8.2.2. Addition of halogen การเพิ่มเข้าด้วยฮาโลเจน
8.2.3. Addition of Hydrogen Halide การเพิ่มเข้าด้วยไฮโดรเจน ฮาไลด์
8.2.4. Hydroxylation (or Oxydation) การเพิ่มหมู่ไฮดรอกซี่(แอลกอฮอล์)
8.2.5. Polymerization
9. 9.Carboxylic Acid
9.1. การเตรียม Carboxylic Acid
9.1.1. ปฏิกิริยา Oydation จาก primary OH เป็น Carboxylic Acid (ใช้กรดและ O จน.มากเพื่อข้ามขั้น)
9.2. ปฏิกิริยาของ Carboxylic Acid
9.2.1. แสดงความเป็นกรด
9.2.1.1. กับ NaOH (ไม่เกิดฟองก๊าซ)
9.2.1.2. กับ โซเดียมไบคาร์บอเนต (เกิดฟองก๊าซ CO2)
9.2.2. ปฏิกิริยารีดักชั่น-ออกซิเดชั่น
9.2.3. ปฏิกิริยาเปลี่ยนเป็นอนุพันธ์ของ Carboxylic Acid
9.2.3.1. Acid Chloride
9.2.3.2. Ester (Carboxylic Acid+OH----->Ester+H2O )
9.2.3.3. Amides
10. 10.Ester
10.1. การเตรียม Ester
10.1.1. Esterification
10.1.2. Tranesterification
10.2. ปฏิกิริยาของ Ester
10.2.1. ไฮโดรไลซิส
10.2.1.1. ทำปฏิกิริยากับเบส
10.2.1.2. ทำปฏิกิริยากับกรด (Ester+H2O----->Carboxylic Acid+OH)
11. 11.อนุพันธ์ของสารอื่น
11.1. Alkyl halide
11.1.1. การเตรียม Alkyl halide
11.1.1.1. เตรียมจาก alkane และ alkyl benzene
11.1.1.2. เตรียมจาก alkyne
11.1.1.2.1. เพิ่ม ไฮโดรเจนฮาไลด์ 2 โมเลกุล
11.1.1.2.2. เพิ่มไฮโดรเจน 2 โมเลกุล
11.2. Amine
11.2.1. ปฏิกิริยากับกรด
11.3. Amide
11.3.1. การเตรียม Amide
11.3.1.1. เตรียมจาก acid chloride
11.3.1.2. เตรียมจาก ester ทำปฏิกิริยากับ NH3
11.3.2. ปฏิกิริยาของ Amide
11.3.2.1. Hydrolysis
11.3.2.2. ปฏิกิริยาการเปลี่ยนเป็นอะมีนโดยการรีดักชัน (product O หาย)