4 ภัยคุกคามประเทศไทย ในภาพรวม

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
4 ภัยคุกคามประเทศไทย ในภาพรวม by Mind Map: 4 ภัยคุกคามประเทศไทย ในภาพรวม

1. การพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อสร้างตัวเลขGDP ได้ก่อหนี้สาธารณะเพิ่มอย่างเป็นทวีคูณ ทำให้ทรัพยากรลด คอรัปชั่นสูง ช่องว่างรายได้ขยายกว้าง เป็นการพัฒนาสร้างผู้ประกอบการให้เป็นลูกจ้าง สร้างเกษตรกรให้เป็นทาสติดดินยุคใหม่ ที่ชื่อว่าเกษตรพันธสัญญา

2. 3 สังคม

2.1. ประชาชนแบ่งฝ่าย

2.1.1. ภัยจากมิฉาทิฐิของกลุ่มคนที่สุดไปข้างใดข้างหนึ่ง

2.1.1.1. การยอมรับการแบ่งฝ่ายแบ่งสีของคนบางส่วน

2.1.1.1.1. มีผู้ได้ประโยชน์จากการแบ่งฝ่าย ทำให้การแบ่งแยกคงอยู่

2.2. คนดีท้อแท้สิิ้นหวัง

2.2.1. ไม่มีบรรยากาศที่ปลุกเร้าให้คนออกมาใช้ความพยายามรักษาความเป็นธรรมด้วยสันติอย่างถึงที่สุด

2.3. ผู้อาวุโสหมดแรง

2.3.1. สังคมหวังพึ่งคนที่มีชื่อเสียงซึ่งบางส่วนอยู่ในวัยอาวุโสหมดไฟไร้เรี่ยวแรง ทำให้รู้สึกหมดที่พึ่ง ท้อแท้ ไร้หวัง ก่อบรรยากาศยอมแพ้อ่อนแอ ทั้่งที่คนหนุ่มสาวที่ต่อสู้อยู่ยังมีพอสมควร

2.4. คนรุ่นใหม่หมกหมุ่นกับตนเองและโครงการทางสังคม ลอยอยู่เหนืิอปัญหาที่แท้จริง ตามวิธีคิดของแหล่งทุน

2.4.1. คนรุ่นใหม่ตกรองในสังคมการแข่งขันทั้งการเรียนและงาน ทำให้สนใจสังคมน้อยลง

2.4.2. ส่วนที่ทำงานสังคม ตกอยู่ภาคใต้โครงการที่แหล่งทุน ทำงานคล้ายระบบราชการที่เน้นแก่นน้อยกว่าเปลือก

2.4.3. ทุนทางสังคมจำนวนหนึ่งเกิดจากนโยบายประชานิมยมของรัฐและแหล่งทุนที่ผูกพันกับระบรัฐมีข้อจำกัด จึงสร้างการทำงานสังคมแบบ "สร้างนิสัยเสีย" แก่คนรุ่นใหม่่ เป็นการทำงานเพื่อตอยโจทยืแหล่งทุน ตามนโยบา่บที่กำหนดจากส่วนกลาง หรือทำแล้วตกลงไปสู่การหลงในเกียรติยศชื่อเสียง และหาเงินเลี้ยงชีพมากว่าการตั้งใจทำงานเพื่อความเสียสละ หรือมิได้ทำงานสังคมเพื่อปกป้องคนยากคนจนจากการถูกเบียดเบียนอย่างแท้จริง

2.4.4. CSR ของธุรกิจ นิยามงานอาสาสมัครที่ทำให้คนรุ่นใหม่ที่สนใจสังคม มีพื้นทีททำงานแตกลับตกเป็นเครื่องมือการตลาดของสินค้าที่ผลิตออกมาอย่างเอาเปรียบสังคม

2.5. นักต่อสู้เพิ่มจำนวนไม่ทันปัญหาที่รุมเร้าจากภัยทั้งสามด้าน

2.5.1. ภัยเศรษฐกิจ

2.5.1.1. กระแสบริโภคนิยม กระแสการซื้อขายทำลายการแลกเปลี่ยนทางสังคม และการส่งสริมพืชเศรษฐกิจที่ผูกติดกับตลาดทุนโลกสร้างปัญหาสังคม

2.5.2. ภัยสิ่งแวดล้อม

2.5.2.1. ดิน น้ำ ป่า ทรัพยากรธรรชาติที่ประชาชนดูแลโดยกำเนิดและวิถีชีวิต ระบบปกป้องตามธรรมชาติถูกทำลายลงด้วยนโยบายของรัฐ

2.5.3. ภัยสังคม

2.5.3.1. ปัญหาเพศ วัย ครอบคัรวไม่อบอุ่น

2.5.3.2. สื่อทำลายสังคมมีอำนาจเหรือรัฐและกุมสภาพความคิดที่ไม่สร้างสรรค์ของประชาชน

2.5.3.3. ข่าวเช้าที่เร้าใจและละครหลังข่าว ชักจูงทิศทางความสนใจและทำลาย ความเข้มแข็งทางสังคมอย่างซึมลึกทุกวัน

2.6. การใช้เงิน คุกตาราง และกระสุนในการปราบปรามประชาชนที่ลุกขึ้นสู้ กับความอยุติธรรม

2.6.1. รัฐ ผู้มีอาวุธในตำแหน่ง กับกลุ่มทุน เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน

2.7. ปล่อยให้ปัญหาอาชญากรรม การก่อการร้าย และยาเสพติดเป็นผลประโยชน์ของคนบางกลุ่ม

2.7.1. ปัญหา 3 จังหวัดเบี้หวัดเพิ่มมากมาย

2.7.2. ยาเสพติดยิ่งจับยิ่งวิสามัญฯแต่ก็ยิ่งเพิ่มมากขึ้น

2.8. ปล่อยให้ปัญหาความเจ็บป่วยเป็นกำไรของเอกชนผผู้เกี่ยวข้องกับธุรกิจสุขภาพ

2.8.1. พรบ.ร่วมทุนและนโยบายสาธารณะสุข

2.9. ปล่อยให้การศึกษาในระบบเป็นการค้า ลดคุณค่าความรู้เป็นเพียงเครื่องมือหาเงิน

2.9.1. สอนคนเป็นลุกจ้าง

2.9.2. ทำให้คนชนบททิ้งไร่นา

2.9.3. ไม่สอนให้พึ่งพาตนเองอย่างทำได้จริง

2.10. ปัญหาเศรษฐกิจ การทำอาชีพ หนี้สิน และการเรียนการสอนบีบรัด จนกระทั่งคนในสังคมไม่มีเวลาทำงานอาสาสมัครมากพอที่จะยกระดับสังคมให้ดีขึ้น

2.10.1. นักศึกษาส่วนมากทอดทิ้งสังคม

2.10.2. CSR (ส่วนมาก)ในองค์กรธุรกิจ เป็นการโฆษณาสินค้ามิใช่การรับใช้สังคม

2.11. มอมเมาประชาชนด้วยสื่อและบริโภคนิยมมิให้มีเวลาสนใจปัญหาสังคมที่แท้จริง

2.11.1. ข่าวที่เป็นสาระไม่ถูกทำให้เกิดความนิยม ข่าวเลวร้ายได้รับการทำให้สนใจอย่างมากมาย จนคนละทิ้งสาระที่แท้จริงของความเป็นสื่อแม้จะไร้มนุษยธรรม

2.11.2. ความดีงามเป็นสินค้าของสื่อ เหยื่อข่าว เหยื่อรายการ เป็นฯชตัวช่วยสร้างกำไรจากโฆษณาหลังข่าวนั้นๆ

2.11.3. สื่อทางเลือกที่คนชนบทและผู้รายได้น้อยเข้าถึงง่ายมีน้อยเกินไป

2.12. สร้างระบบตัวใครตัวมันที่เลวร้ายยิ่งกว่าเดิม

2.12.1. ภาพน้ำใจริมถนน บนรถสาธารณะ น้อยลงอย่างน่าตกใจ

2.13. ความรู้ทางวิชาการเป็นส่วนหนึ่งของการทำกำไรของธุรกิจ ทำให้มาตรฐานวิชาการของประเทศตกต่ำไร้ความน่าเชื่อถือ สังคมสิ้นหวังเสื่อศรัทธาในตัวนักวิชาการ

2.13.1. เกิดวิกฤตความตกต่ำทางมาตรฐานวิชาการของชาติอย่างร้ายแรงในแทบทุกสาขา; ด้วยมีนักวิชการที่รับจ้างกลุ่มทุน และทำงานให้นักการเมืองและรัฐ โดยทำรายงานที่ไม่มีมาตรฐานทางวิชาการ ไม่เป็นไปเพื่อประโยชน์สูงสุดของของประเทศชาติ แตยังได้รับการยอมรับ ยกย่อง ยังได้รางวัลทางวิชการอีกด้วย

2.14. เป็นความกังวลที่พูดไม่ไ่ด้ ซ่อนในใจคนไทยแทบตลอดเวลาหลายปีที่ผ่านมา นับวันความกังวลยิ่งมากขึ้นตามเวลาที่เคลื่อนไป ทุกคนกลัวกาลเวลามาพรากคนที่รัก/คนสำคัญไปจากแผ่นดิน กลัวคนที่เกลียดจะกลับมา กลัวช่วงเปลี่ยนผ่านทั้งความรักและความเกลียดชังจะสร้างความรุนแรงที่หยุดยั้งได้ยากขึ้นในสังคม นี่คือโจทย์ร่วมของของคนไทยที่แง้มประตูคอยกาลเวลาผู้โหดร้ายอยู่อย่างเงียบงัน

2.15. คนที่มีความรับผิดชอบสังคมทำงานหนักเกินไปจนป่วย

2.15.1. งานมากไม่สนใจดูแลตนเอง

2.15.2. ไม่มีคนดูแลใกล้ตัว

2.15.3. ไม่มีเงินพอที่จะดูแลสุขภาพอย่างเหมาะสม

2.15.4. ไม่มีความรู้ในการดูแลสุขภาพด้วยต้นทุนต่ำ

2.15.5. สังคมให้ความสำคัญกับคนทำงานจริงจังที่ไม่โฆษณาตนเองน้อยเกินไป

2.15.6. แหล่งทุนทางสังคม(ส่วนมาก)เอาแต่ผลงานเพื่อตอบโจทย์โครงการสนใจเรื่องคนน้อยมาก

2.16. คนทำงานสังคมที่จริงจังไม่สามารถวางระบบงานที่ดีสำหรับอานคตได้

2.16.1. เนื่องจากเวลาที่ต้องหมดไปกับปัญหาเฉพาะหน้า

2.16.1.1. ปัญหาในตัวงานและคน

2.16.1.2. ปัญหาครอบครัว

2.16.1.3. ปัญหาแหล่งทุน

2.16.1.4. ปัญหาร้อนของประชาชนพื้นที่

2.16.1.5. ปัญหาร้อนของสังคมในภาพรวม

2.16.2. เนื่องจากข้อจำกัดเฉพาะตัวทั้งวิธีคิดและความสามารถ

2.16.3. เนื่องจากทรัพยากรและการสนับสนุนที่จำกัด

3. 1 ทรัพยากร/สิ่งแวดล้อม

3.1. คลื่นในอากาศ

3.1.1. ค่าใช้จ่ายคลื่นทุกอย่างผูกขาดด้วยเอกชนน้อยราย ไม่มีการแข่งขันอย่างแท้จริง

3.1.2. ความสัมพันธุ์ของฝายการเมือง ข้าราชการและ คนในวงการธุรกิจโทรคมานคม-การสื่อสาร ส่อไปในทางประร่วมผลโยชน์กันได้ง่าย

3.1.3. ต่างชาติเข้ามามีอำนาจระบบสื่อสาร โดยผ่านการระดมทุนในตลาด ก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อระบบความมั่นคงของข้อมูลของชาติ และประชาชนตกเป็นผู้ใช้บริการที่ผุกขาดโดยต่างชาติในด้านการเสื่อสาร

3.2. ป่า

3.2.1. การปลูกไม้เศรษฐในพื้นที่ป่าสาธารณะ

3.2.2. การตัดไม้โดยหน่วยงานของรัฐอนุมัติ

3.2.3. การขยายพื้นที่เกษตรอุตสาหกรรม

3.2.4. การขยายเส้นทางคมนาคมขนส่ง>เวนคืน

3.2.5. การขยายพื้นที่เมือง>ผังเมือง

3.3. ที่ดิน

3.3.1. สินแร่>ส่งออกต่างประเทศ

3.3.2. ปิโตรเลียม>ต่างชาติลงทุน

3.3.3. การเปิดเสรีอาเซี่ยน>ต่างชาติลงทุน

3.3.4. การเปิดเสรีทางการค้าFTA>ต่างชาติลงทุน

3.3.5. นำประเทศสู่อุตสาหกรรม>ราคาที่ดินสูงขึ้น

3.3.6. ราคาพิชผลต่ำ>หนี้สินเกษตรกร>ขายที่ดิน

3.3.7. ขยะพิษจากอุตสาหกรรมและพิษจากสารเคมีเกษตร

3.4. แหล่งน้ำ

3.4.1. กิจการที่สร้างความเสี่ยงต่อแหล่งอาหารและท่องเที่ยว

3.4.2. สร้างเขื่อนขนาดใหญ่>ทำลายป่าต้นน้ำ

3.4.3. ภัยพิบัติท่วม-แล้ง>การบริหารจัดการที่ไม่บริสุทธิ์์ใจ

3.4.4. การกัดเซาะชายฝั่งจากการถมทะเล/สร้างท่าเรือ

4. การพัฒนาอุตสาหกรรมและคมนาคมขนส่งอย่างสุดขั้ว โดยไม่ทะนุถนอมพื้นที่เกษตรกรรม ป่าไม้ และแหล่งน้ำสะอาด ก่อให้เกิดการปนเปื้อนแหล่งอาหาร อันเกิดจากกิจกรรมอุตสาหกรรมและการขนส่งทั้งทางบกและทางน้ำ ส่งผลย้อนกลับมาที่ระบบสุขภาพอันเป็นปัญหาสังคมที่เรื้อรัง

5. การทำให้คนไม่มีเวลา ไม่มีความคิด ไม่มีความรู้ในสถานการณ์ที่เป็นจริง ของประเทศคือการทำลายโครงสร้างสังคมที่ร้ายแรงที่สุด

6. 4 การเมือง

6.1. คอรัปชั่น

6.1.1. ระบบตรวจสอบที่อ่อนแอ

6.1.1.1. คนทำผิดรอดเงื้อมือกฎหมายเพราะอำนาจเงิน

6.1.1.2. ระบบยุติธรรมทางอาญาเป็นระบบที่ศาลยึดเอกสารเป็นสำคัญ ประชาชนทีี่ไม่มีทนายที่เก่งและบริสุทธิ์จากผลประโยชน์มักแพ้คดีที่ตนถูกเอาเปรียบ ยกเว้นกรณีที่ศาลเดินเผชิญสืบ และทำงานละเอียดรอบคอบ ประชาชนจึงมีโอกาสได่้รับความเป็นธรรม

6.1.1.3. บุคคลากรด้านการตรวจสอบมีสัดส่วนน้อยกว่าปัญหาที่เพิ่มมากขึ้น ทำให้ขากประสิทธิภาพในงานตรวจสอบแต่ละชิ้น เฉพาะคดีดังๆที่สังคมให้ความสนใจมากๆเท่านั้นที่จะมีการทำงานด้ยความรวดเร็วและทุ่มเท

6.1.1.4. โครงสร้างการทำงานในระบบตรวจสอบมีข้อจำกัดทำให้ประชาชนเข้าถึงและใช้บริการได้ยาก

6.1.1.5. ประชาชนส่วนมากของประเทศไม่รู้สิทธิของตน และไม่รู้ว่าจะร้องรียนหรือดำเนินการอย่างไรเมื่อถูกละเมิดสิทธิ

6.1.1.6. องค์กรตรวจสอบมีงบประมาณจำกัด หมดเวลา งบประมาณและบุคลากรไปกับการทำงานฝ่ายรับ มิได้ทำงานเชิงรุกหรือป้องกันได้ทันกับปัญหาที่ล่ามออกไปทุกมิติ ปัญหาจึงขยายตัวเร็วกว่าหน่วยงานแก้ปัญหา

6.1.1.7. มีเหตุทำให้เชือ่ไปว่าคนในระบบตรวจสอบ(บางส่วน)อาจจะมีการปนเปื้อนเชื้อร้ายของกลุ่มผลประโยชน์

6.1.1.7.1. ทำให้อ่อนแอ

6.1.1.7.2. ทำให้เบี่ยงเบน

6.1.1.7.3. เกิดความไม่เชื่อมั่นในระบบตรวจสอบและกรบวนการยุติธรรม

6.1.1.7.4. ไม่แก้ปัญหา

6.1.1.7.5. ทำให้ผู้ทุจริตย่ามใจทำสิ่งมิชอบหนักขึ้น

6.1.1.7.6. องค์กรอิสระที้่ไม่อิสระอย่างแท้จิรง

6.1.1.8. ผู้นำและระบบการบริหารจัดการในองค์กรที่มีมีอำนาจตรวจสอบไม่คล่องตัว ถูกปิดกั้นหรือปิดกั้นตนเองจากสังคม และขาดความกล้าหาญ ขาดความฉับไวต่อปัญหาที่รุนแรง จึงไม่สามารถทำตามบทบาทหน้าที่ที่มีอย่างเข้มแข็งสมคุณค่า

6.1.1.8.1. ตัวอย่าง ๑ คณะกรรมการสิทธิมนษยชนแหง่ชาติ มีอำนาจฟ้องแทนประชาชนได้ แต่ไม่เคยทำหน้าที่นี้เลย

6.1.1.8.2. ตัวอย่าง ๒ ผู้ตรวจการแผ่นดิน สามารถหยิบเรื่องมาพิจารณาฟ่้องร้องเองได้ แต่ก็ทำน้อยกว่าปัญาที่ลุกลามออกไป

6.1.1.8.3. ฯลฯ

6.1.2. ยอมให้การทุจริตเล็กๆเป็นเรื่องธรรมดาจนเกินแก้

6.1.2.1. ข้าราชการ

6.1.2.1.1. คนดีอ่อนแอ

6.1.2.1.2. ส่งคนเข้าสู่ตำแหน่งด้วยเส้นสายเมื่อมีอำนาจจึงอวยประโยชน์ตอบแทนบุญคุณ

6.1.2.1.3. คนส่วนมากเอาตัวรอด ขาดความกล้าหาญ เพิกเฉยกับความไม่ถูกต้อง

6.1.2.2. ธุรกิจ

6.1.2.2.1. (ส่วนมาก)หวังทำกำไรสูงสุดโดยปราศจากความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมอย่างแท้จริง

6.1.2.3. ประชาชน

6.1.2.3.1. อ่อนแอ

6.1.2.4. สื่อ

6.1.2.4.1. กระแสหลักเป็นหนึ่งเดียวกับรัฐและกลุ่มธุรกิจ

6.1.2.4.2. สื่อทางเลือกขาดความเข้มแข็งและมีน้อยเกินไปไม่สมดุล

6.1.2.5. นักวิชาการ

6.1.2.5.1. ไม่ท้วงติงอย่างแข็งขัน หรือมีส่วนหนุนการทุจริตเสียเอง

6.1.3. ระบบการปกครอง

6.1.3.1. ผู้ว่าฯ-นายอำเภอ

6.1.3.1.1. แต่งตั้งจากส่วนกลาง

6.1.3.1.2. กำนันผู้ใหญ่บ้านเป็นดุจเสมียนอำเภอในท้องที่

6.1.3.1.3. เกือบจะทั้งระบบรับใช้ส่วนกลาง ธุรกิจและฝ่ายการเมืองมิได้รับใช้ประชาชนอย่างแท้จริง

6.1.3.1.4. เมื่อประชาชนเกิดปัญหากับเอกชน ฝ่ายราชการในท้องถิ่นมักเข้าข้างเอกชน ใช้ตำแหน่งอำนาจข่มขู่คุกคามประชาชนเสียเอง

6.1.3.1.5. กุมอำนาจปกครอง

6.1.3.2. อบจ.อบต.

6.1.3.2.1. ประชาชนเลือกเข้ามา

6.1.3.2.2. ผู้นำท้องถิ่นมักมีการเมืองส่วนกลางเป็นผู้บงการและทำตัวเป็นนายเหนือ ดุจนายหรือเจ้าของ อบจ.อบต.โดนพฤตินัย

6.1.3.2.3. กุมการใช้จ้ายงบส่วนใหญ่ในการพัฒนาท้องถิ่น

6.1.3.3. สองสายบังคับบัญชาขึ้นกับมหาดไทยแห่งเดียว

6.1.3.3.1. เมื่อเกิดปัญหาของประชาชนมักเป็นบรรยากาศตกร่องกลางไม่มีผู้ต้องแสดงความรับผิดชอบ

6.1.3.3.2. แม่จะมีทั้งการแบ่งขั่วอำนาจและรวมศูนย์ แต่กลับขาดผู้รับผิดในเหตุการณ์สำคัญที่ประชาชนเดือดร้อน

6.1.3.3.3. มหาดไทยจึงเป็นกระทรวงแห่งอำนาจที่ไร้ธรรมาภิบาลทุกระดับ ที่ทุกขั้วอำนาจช่วงชิงต่อรองตำแหน่งในทุกรัฐบาล

6.1.4. การทุจริตใหญ่ๆมักเอาผิดได้ช้าหรือเอาผิดใครไม่ได้เลย

6.1.4.1. เพราะความไม่มีฝีมือของฝ่ายตรวจสอบ

6.1.4.2. เพราะการปนเปื้อนในฝ่ายตรวจสอบ

6.1.4.3. เพราะประชาชนยอมรับการคอรับชั่นด้วยการเฉยเมย

6.1.4.4. ภาคประชาชนอ่อนแอ ขาด NGO ที่จริงจังกับเรื่องคอรัปชั่น หรือ NGO ที่มีขาดการหนุนจากสังคม

6.2. ทำลายคนดีเชิดชูคนโกง

6.2.1. ระบบคิดในภาพรวมของสังคมไทยฉาบฉวย ต้องการเสพความเร้าใจ ไม่ว่าเรื่ิองดีหรือร้าย

6.2.1.1. คนร้ายๆจึงกลายเป็นพระเอกในละครข่าว หรือข่าวที่มีคนนิยมดูเหมือนละคร

6.2.2. คนที่ทำคุณงามความดีจริงๆก็ไม่อยากเปิดตัว

6.2.2.1. และยินดีเป็นพวกปิดทองหลังพระ

6.2.2.1.1. สังคมสายตาตื้นจึงดูสิ้นคนดีหรือมีคนดีไม่พอใช้

6.2.3. คนที่อยากดีแต่ใม่ค่อยมีความดีตามที่อยากก็เป็นข่าวมากกว่าความดีที่มี

6.2.3.1. สังคมที่นิยมความฉาบฉวยไม่ตรวงจสอยบก็ยอมรับคนดีแบบนี้ได้

6.3. ออกฎหมายให้ทุนและต่างชาติเอาเปรียบประเทศไทย

6.3.1. ฝ่ายนิติกรของรัฐมีตำแหน่งในธุรกิจได้โดยกฎหมายเปิดช่องให้

6.3.2. คนตรงในฝ่ายนิติบัญญัติมีคะแนนเสียงไม่พอที่จะคัดค้านกฎหมายที่ประเทศเสียเปรียบ

6.4. เปิดประเทศสู่เสรีโดยยอมเสียเปรียบทุกด้าน

6.4.1. FTA

6.4.1.1. การผุกขาดตำรับยาแก้โรคร้าย

6.4.2. AEC

6.4.2.1. เปิดทางต่าชาติเอาประเทศไทยเป็นทางผ่านสินค้า

6.4.2.2. เปิดโอกาสให้เปลี่ยนทรัพยากรธรรมชาติเป็นสินค้า บัญญัติกฎหมายที่ส่งเสริมการทำลายสิ่งแวดล่้อม โดยการส่งเสริมการลงทุนของรัฐให้แก่เอกชน ด้วยข้ออ้างการพัฒนา เพื่อมูลค่าตัวเลข GDP เพื่อรักษาระดับการแข่งขันในเวทีโลก ที่ประเทศเสียเปรียบแทบทุกด้าน

6.5. ไม่ใช้อำนาจต่อรองเพื่อผลประโยชน์ของชาติ

6.5.1. เพราะคนของรัฐหรือสายเลือดส่ยตระกูลบริวารมิตรสหายมีกิจการทำกำไรทั้งในและต่างประเทศ จึงยอมนับข้อตกลงกับต่างประเทศโดยไม่ใช้ความพยายามต่อรองเพื่อประเทศของตนเอง

6.5.2. ทั้งฝ่ายค้านฝ่ายรัฐบาลต่างมีธุรกิจที่อาจจะสมประโยชน์กัน การทำหน้าที่ฝ่ายค้านจึงไม่มีผลต่อการรักษาผลประโยชน์ของชาติ

6.6. ใช้เกมส์แบ่งแยกเพื่อฉกฉวยผลประโยชน์ด้านทรัพยากรและงบประมาณ

6.6.1. แบ่งแยกประชาชน

6.6.2. แบ่งแยกข้าราชการ

6.6.3. แบ่งแยกสื่อ

6.6.4. แบ่งแยกนักวิชาการ

6.6.5. แบ่งแยกกองกำลัง

6.7. นักการเมืองและข้าราชการที่กุมอำนาจหลักไม่ทำงานเพื่อส่วนรวม(ไม่ใช่ทุกคน)

6.7.1. พ่อค้าทีเ่ข้าสู่การเมืองคิดว่าการลงทุนการการเมืองเป็นส่วนหนึ่งของธุรกิจ

6.7.2. รัฐคือทุนจึงล้มเหลวในการจัดการปัญหาประเทศและประชาชนให้ลุล่วงอย่างยั่งยืน

6.7.3. คนดีที่มีอำนาจตกอยู่ในความอ่อนแอ หรือ เห็นแก่ตัว หรือ ไ่ม่มีความเสียสละอย่างทุ่มเท

6.7.4. ข้าราชการอยากรวยมากกว่าอยากรับใช้ชาติ

6.7.5. นักการเมืองอาชีพคือคนที่ไม่ทำธุกริจหรือไม่มีญาติทำธุรกิจเลยแทบไม่มีในสังคมไทย

7. 2 เศรษฐกิจ

7.1. อุตสาหกรรม

7.1.1. สร้างมลพิษอุตสาหกรรม

7.1.1.1. มลพิษอากาศ

7.1.1.2. มลพิษดิน

7.1.1.3. มลพิษน้ำ

7.1.2. สร้างขยะอุตสาหกรรม

7.1.2.1. ขยะจากต่างประเทศ

7.1.2.2. ขยะในประเทศ

7.1.3. อุตสาหกรรมแย่งน้ำจากเกษตรกรรม

7.1.4. อุตสาหกกรรมใช้พลังงานมาก มลภาวะเกิดแก่สังคมผลกำไรตกอยู่กับเอกชนและต่างชาติ

7.1.5. อุตสาหกรรมการเกษตรผูกขาดการผลิตอาหารและพลังงานจากพืช

7.1.6. ภัยจากการขยายพื้นที่อุตสาหกรรมคุกคามพื้นที่เกษตรและประมง

7.1.7. อุตสาหกรรมทีี่มีมูลค่าสูงส่วนมากต่างชาติเป็นผู้ประกอบการหลัก เงินกำไรส่วนมากไหลออกนอกกประเทศ

7.1.8. อุคสาหกรรมก่อสร้างซึ่งรวมถึงการค้าที่ดิน คืออำนาจการถือครองที่ดินหลุดไปจากคนไทย ทำให้ขาดความมั่นคงทางสังคมในระดับประเทศ

7.1.9. ผู้ใช้แรงงานยังมีคุณภาพชีวิตที่ต่ำสุดและมีหนี้สินจนดิ้นไม่พ้นตัว ไม่ว่าแรงงานต่างชาติหรืแรงงานไทย อุตสาหกรรมที่ขายตัวมิได้ยกระดับแรงงานไทยให้มีชีวิตที่ดีขึ้นตามGDPแต่อย่างใด

7.2. พลังงานและสินแร่

7.2.1. ต้นน้ำ

7.2.1.1. กลางน้ำ

7.2.1.1.1. ปลายน้ำ

7.2.2. กิจการด้านพลังงานมุ่งเน้นกำไรสูงสุด ซึ่งตกอยู่ในมือเอกชนที่มีบริษัทต่างชาติอยู่เบื้องหลัง เมื่อบริษัทต่างชาติร่วมมือกับบริษัทไทยทำให้กลุ่มทุนพลังงานมีอำนาจอิทธิพลเหนือรัฐ

7.2.3. ประชาชนจ่ายค่าพลังงานและสินต้าจากแร่ในราคาเสมอนำเข้า แม้พลังงานและสินแร่บางส่วนจะมีเองจากทรัพยากรในประเทศ

7.2.4. ผลประโยชน์จากพลังงานและสินแร่ตกเป็นของเอกชนและต่างชาติ

7.2.5. เกิดการผูกขาดอำนาจการบริหารจัดการพลังงานและสินแร่ โดยรัฐไม่มีอำนาจต่อรองเพื่อผลประโยชน์ของประชาชน และคนของรัฐยังเป็นหนึ่งเดียวกับทุนพลังงานด้วย

7.2.6. ไม่มีการส่งเสริมพลังงานหมุนเวียนที่ประชาชนทำเองได้อย่างจริงจัง ทั้งที่เป็นเทคโนโลยี่ที่ง่ายและคนไทยประสบความสำเร็จในการพัฒนาจนใช้จริงได้แล้ว

7.2.7. ไม่มีการกำหนดแร่สำคัญที่ควรหวงห้ามและสงวนไว้เพื่อความั่นคงของชาติในยามวิกฤต เช่น ทองคำ เงิน รวมทั้งน้ำมันดิบและก๊าซธรรมชาติ อันเป็นทรัพยากรที่ใช้แล้วหมดไป

7.3. ข้อตกลงการค้าและความร่วมมือ: G2G, G2B

7.3.1. FTA

7.3.1.1. AEC

7.3.1.1.1. etc.ฯลฯ

7.3.2. East West Corrider

7.3.2.1. Trans Asia Hi-way

7.3.2.2. Trans Asia Railway

7.3.2.3. Trans Asia Grid Line

7.3.2.4. Trans Asia Pipe line

7.3.3. ระบบขนส่งมวลชนทั้งหมดเอกชนเป็นผู้กำหนดค่าบริการ ด้วยกำไรสูงสุดตามการลงทุน ส่วนขาดที่ต้องดูแลคนจน รัฐต้องอุดหนุนด้วยเงินภาษีของราษฎร เพื่อรักษาระดับกำไรของเอกชนและเพื่อปกครองประชาชนมิให้ต่อต้านประท้วง

7.4. คมนาคมขนส่ง

7.4.1. นโนบายและกฎหมายทำให้ระบบสาธารณูปโภคเป็นบริการของเอกชนที่เก็บค่าบริการจากประชาชน โดยการให้เอกชนร่วมทุนกับรัฐ เอกชนจึงสามารถใช้ประโยชน์จากทรัพยากรของประเทศ เพื่อทำกำไรสูงสุด

7.4.1.1. ถนน

7.4.1.2. ท่าเรือ

7.4.1.3. สนามบิน

7.4.1.4. ระบบราง

7.5. นโยบายส่งเสริมการลงทุนและกฎหมาย ด้านภาษี ข้อบังคับเรื่องมลพิษ กรรมสิทธิ์ในทรัพยากรที่ให้สัมปทานหรือประทานบัตร-อาชญาบัตรและวิธีการแบ่งผลประโยชนช์ทุกธุรกิจ เป็นกฎหมายที่ล้าหลังทำให้ประเทืศเสียเปรียบ

7.5.1. BOI

7.5.2. พรบ.ร่วมทุนฯ

7.5.3. พรบ.แร่

7.5.4. พรบ.ปิโตรเลียม

7.5.5. ฯลฯ

7.6. ระบบสุขภาพเป็นธุรกิจ

7.6.1. การทำให้ระบบสุขภาพเป็นธุรกิจที่ทำกำไร โอนงบประมาณสู่ธุรกิจสุขภาพของเอกชน ทำให้ความเจ็บป่วยเป็นกำไร ย่อมเป็นสาเหตุให้นโยบายที่จะสร้างระบบป้องกันโรคอ่อนแอ

7.7. ระบบการศึกษาเป็นธุรกิจ

7.7.1. การกำหนดนโยบายให้สถาบันศึกษาต้องออกนอกระบบและอยู่รอดโดยการบริหารจัดการเช่นเดียวธุรกิจเอกชน ทำให้การศึกษาซึ่งต้องถือเป็นกิจการทางสังคมเป็นบริการของรัฐ ย้ายฟากมาอยู่ในหมวดเศรษฐกิจ เมื่อการศึกษาถูกวางบทบาทให้เป็นไปเพียงเพื่อผลกำไรเช่นเดียววกับธุรกิจ ปัญญาสาธารณะย่อมไม่สามารถถูกพัฒนา อย่างแท้จริง ความรู้ที่สำคัญซึ่งไม่ทำกำไรจะไม่มีการพัฒนาค้นคว้าขึ้นในสังคม

7.7.2. การศึกษาที่แลกมาด้วยเงินกำไร ย่อมทำให้สังคมเป็นสังคมแห่งความเห็นแก่ตัว การสร้างผู้มีสติปัญญาที่จะมาร่วมกันพัฒนาประเทศอย่างอิสระจากผลประโยชน์ย่อมไม่เกิดขึ้น สุดท้ายจะเป็นสังคมไร้น้ำใจไม่มีความน่าอยู่อีกต่อไป ความรู้เป็นความดีงามที่ช่วยจรรโลงสังคมมิใช่กำไรทางธุรกิจ