หลักเกณฑ์&เงื่อนไขเกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่และการกำกับดูแลหน่วยปฏิบัติการอำนวยการ ๒๕๖๕

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
หลักเกณฑ์&เงื่อนไขเกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่และการกำกับดูแลหน่วยปฏิบัติการอำนวยการ ๒๕๖๕ by Mind Map: หลักเกณฑ์&เงื่อนไขเกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่และการกำกับดูแลหน่วยปฏิบัติการอำนวยการ ๒๕๖๕

1. บทนำ

1.1. นิยามศัพท์

1.1.1. หน่วยปฏิบัติการ

1.1.1.1. หน่วยงานหรือองค์กรที่ปฏิบัติการฉุกเฉิน

1.1.2. ปฏิบัติการฉุกเฉิน

1.1.2.1. การปฏิบัติการด้านการแพทย์ฉุกเฉิน

1.1.2.1.1. การประเมิน

1.1.2.1.2. การจัดการการประสานงาน

1.1.2.1.3. การควบคุมดูแล

1.1.2.1.4. การติดต่อสื่อสาร

1.1.2.1.5. การลำเลียง/ขนส่งผู้ป่วย

1.1.2.1.6. การตรวจวินิจฉัย

1.1.2.1.7. การบำบัดรักษาพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉิน

1.1.3. หน่วยปฏิบัติการแพทย์

1.1.3.1. หน่วยปฏิบัติการประเภทปฏิบัติการแพทย์ซึ่งจำแนกเป็น

1.1.3.1.1. ปฏิบัติการแพทย์ระดับพื้นฐาน

1.1.3.1.2. ปฏิบัติการแพทย์ระดับสูง

1.1.3.1.3. ปฏิบัติการแพทย์ระดับเฉพาะทาง

1.1.4. หน่วยปฏิบัติการอำนวยการ

1.1.4.1. หน่วยปฏิบัติการ ที่ให้การอำนวยการแก่ผู้ปฏิบัติการ หรือชุดปฏิบัติการของหน่วยปฏิบัติการแพทย์

1.1.5. ปฏิบัติการอำนวยการ

1.1.5.1. การปฏิบัติการุกเฉินที่ไม่ได้กระทำโดยตรงต่อผู้ป่วยฉุกเฉิน ประกอบด้วย

1.1.5.1.1. การจัดการ

1.1.5.1.2. การประสานงาน

1.1.5.1.3. การควบคุมดูแล

1.1.5.1.4. การติดต่อสื่อสาร

1.1.6. รับแจ้ง

1.1.6.1. คัดแยกระดับความฉุกเฉิน

1.1.6.1.1. รับแจ้งการเจ็บป่วยฉุกเฉิน

1.1.6.1.2. รวบรวมข้อมูลและสารสนเทศทางการแพทย์

1.1.6.2. ส่งข้อมูลและสารเทศ

1.1.6.2.1. หน่วยปฏิบัติการ

1.1.6.2.2. โรงพยาบาลที่เกี่ยวข้อง

1.1.6.3. ให้คำแนะนำเชื่อมระหว่างบุคคลต่อบุคคล

1.1.6.3.1. วาจา

1.1.6.3.2. ลายลักษณ์อักษร

1.1.6.3.3. อิเลกทรอนิกส์

1.1.6.3.4. โทรคมนาคม

1.1.6.3.5. วิธีการสื่อสารอื่นๆ

1.1.7. จ่ายงาน

1.1.7.1. ถ่ายทอดคำสั่งและประสานการปฏิบัติการฉุกเฉิน

1.1.7.1.1. วาจา

1.1.7.1.2. ลายลักษณ์อักษร

1.1.7.1.3. อิกเล็กทรอนิกส์

1.1.7.1.4. โทรคมนาคม

1.1.7.1.5. วิธีการสื่อสารอื่นๆ

1.1.7.2. กำกับดูแลแลเชื่อมตรงระหว่าง

1.1.7.2.1. บุคคลต่อบุคคล

1.1.7.2.2. เพื่อให้ผู้ช่วยเวชกรรม หรือ ผู้ปฐมพยาบาล

1.1.8. อำนวยการ

1.1.8.1. อำนวยการแพทย์โดยแพทย์อำนวยการปฏิบัติการฉุกเฉิน

1.1.8.1.1. การจัดการ และควบคุมการปฏิบัติการฉุกเฉินของผู้ปฏิบัติการ

1.1.9. อำนวยการทั่วไป

1.1.9.1. จัดทำและประกาศไว้เป็นเอกสารด้วยวิธีที่กำหนดไว้ช่วงหน้า

1.1.9.1.1. เป็นคำสั่งประจำ

1.1.9.1.2. มีขั้นตอนและวิธี

1.1.9.1.3. มีเกณฑ์วิธีการปฏิบัติ

1.1.9.1.4. มีการตรวจสอบและพิจารณากระบวนการและผลการปฏิบัติการฉุกเฉินย้อนหลัง

1.1.10. อำนวยการตรง

1.1.10.1. การอำนวยการเชื่อมตรงระหว่างบุคคลต่อบุคคล ขณะปฏิบัติการฉุกเฉิน

1.1.10.1.1. ณ สพานที่ที่มีผู้ป่วยฉุกเฉินหรือที่เกิดเหตุการณ์

1.1.10.1.2. ผ่านการสื่อสารทางไกล

1.1.11. ผู้ปฏิบัติการ

1.1.11.1. บุคคลซึ่งปฏิบัติงานเกี่ยวกับการแพทย์ฉุกเฉินตามคณะกรรมการการแพทย์ฉุกเฉินกำหนด

1.1.11.1.1. ผู้ปฏิบัติงานด้านปฏิบัติการฉุกเฉิน

1.1.11.1.2. ผู้ปฏิบัติงานด้านวิชาการ

1.2. เกณฑ์มาตรฐานคุณวุฒิการแพทย์ (มคฉ.1)

2. บทที่ 2 ลักษณะ ลักษณะการปฏิบัติหน้าที่ และการบริหารจัดการของหน่วยปฏิบัติการอำนวยการ

2.1. ลักษณะหน่วยปฏิบัติการอำนวยการ

2.1.1. หน่วยปฏิบัติการอำนวจการระดับพื้นฐาน

2.1.1.1. บุคลากร

2.1.1.1.1. ผู้บริหารการแพทย์ฉุกเฉิน 1 คน

2.1.1.1.2. ผู้ปฏิบัติการ

2.1.1.1.3. บุคลากรสนับสนุน

2.1.1.1.4. ระบบสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ

2.1.1.2. ต้องจัดให้มีผู้ปฏิบัติการในแต่ละผลัดเวรอย่างน้อยตำแหน่งละ 1 คน

2.1.1.3. อาคารสถานที่และสิ่งอำนวยความสะดวก

2.1.1.3.1. ที่ตั้งชัดเจน

2.1.1.3.2. มีที่เก็บอุปกรณ์ที่จำเป็นและจัดเก็บระบบสำรองต่างๆ

2.1.1.3.3. มีสถานที่ปลอดภัย

2.1.1.3.4. มีระบบรองรับเพื่อคามต่อเนื่องในการปฏิบัติการอำนวยการ

2.1.1.4. อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ และพาหนะสนับสนุนปฏิบัติการอำนวยการ

2.1.1.5. ลักษณะการปฏิบัติหน้าที่

2.1.1.5.1. รับแจ้งเหตุการเจ็บป่วยฉุกเฉิน

2.1.1.5.2. ประสานงานงานรวมทั้งจ่ายงาน

2.1.1.5.3. กำกับการตามการการอำนวยการทั่วไปได้ตลอดเวลา

2.1.1.5.4. มีกระบวนการดำเนินการให้สามารถปฏิบัติการฉุกเฉินได้ตามหน้าที่ ขอบ เขต ความรับผิดขอบ และข้อจำกัดของหน่วยปฏิบัติการอำนวยการระดับพื้นฐาน

2.1.1.5.5. 3P safety

2.1.1.5.6. ถ้าอำนวยการตรง vs อำนวยการทั่วไป

2.1.1.6. การบริหารจัดการและการดำเนินการของหน่วยปฏิบัติการอำนวยการระดับพื้นฐาน

2.1.1.6.1. ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบการแพทย์ฉุกเฉินในระดับท้องถิ่น

2.1.1.6.2. 4(7) ตามประกาศคณะกรรมการการแพทย์ฉุกเฉิน

2.1.2. หน่วยปฏิบัติการอำนวยการระดับสูง

2.1.2.1. บุคลากร

2.1.2.1.1. ผู้บริหารการแพทย์ฉุกเฉิน

2.1.2.1.2. ผู้ปฏิบัติการ

2.1.2.1.3. บุคลากรสนับสนุน

2.1.2.2. ต้องจัดให้มีผู้ปฏิบัติการในแต่ละผลัดเวรอย่างน้อยตำแหน่งละ 1 คน

2.1.2.3. อาคารสถานที่และสิ่งอำนวยความสะดวก

2.1.2.3.1. ที่ตั้งชัดเจน

2.1.2.3.2. มีที่เก็บอุปกรณ์ที่จำเป็นและจัดเก็บระบบสำรองต่างๆ

2.1.2.3.3. มีสถานที่ปลอดภัย

2.1.2.3.4. มีระบบรองรับเพื่อคามต่อเนื่องในการปฏิบัติการอำนวยการ

2.1.2.4. อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ และพาหนะสนับสนุนปฏิบัติการอำนวยการ

2.1.2.5. ลักษณะการปฏิบัติหน้าที่

2.1.2.5.1. รับแจ้งเหตุการเจ็บป่วยฉุกเฉิน

2.1.2.5.2. ประสานงานงานรวมทั้งจ่ายงาน

2.1.2.5.3. กำกับการตามการการอำนวยการทั่วไปได้ตลอดเวลา

2.1.2.5.4. มีกระบวนการดำเนินการให้สามารถปฏิบัติการฉุกเฉินได้ตามหน้าที่ ขอบ เขต ความรับผิดขอบ และข้อจำกัดของหน่วยปฏิบัติการอำนวยการระดับสูง

2.1.2.5.5. 3P safety

2.1.2.5.6. ถ้าอำนวยการตรง vs อำนวยการทั่วไป

2.1.2.6. การบริหารจัดการและการดำเนินการของหน่วยปฏิบัติการอำนวยการระดับพื้นฐาน

2.1.2.6.1. ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบการแพทย์ฉุกเฉินในระดับท้องถิ่น

2.1.2.6.2. 4(7) ตามประกาศคณะกรรมการการแพทย์ฉุกเฉิน

2.1.3. หน่วยปฏิบัติการอำนวยการระดับที่ปรึกษา

2.1.3.1. บุคลากร

2.1.3.1.1. ผู้บริหารการแพทย์ฉุกเฉิน

2.1.3.1.2. ผู้ปฏิบัติการ

2.1.3.1.3. บุคลากรสนับสนุน

2.1.3.2. อาคารสถานที่และสิ่งอำนวยความสะดวก

2.1.3.2.1. ที่ตั้งชัดเจน

2.1.3.2.2. มีที่เก็บอุปกรณ์ที่จำเป็นและจัดเก็บระบบสำรองต่างๆ

2.1.3.2.3. มีสถานที่ปลอดภัย

2.1.3.2.4. มีระบบรองรับเพื่อคามต่อเนื่องในการปฏิบัติการอำนวยการ

2.1.3.3. ระบบสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ

2.1.3.3.1. สื่อสารและบริหารจัดการเทคโนโลยี ร่วมกับหน่วยปฏิบัติการแพทย์ในพื้นที่ที่รับผิดชอบได้ทันที และตลอดเวลา

2.1.3.3.2. มีเครื่องมือสื่อสารและระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่จำเป็นต่อการปฏิบัติการฉุกเฉิน

2.1.3.3.3. เชื่อมต่อในการรับ-ส่งคำสั่งหรือข้อมูลกับหน่วยปฏิบัติ

2.1.3.3.4. กรณีใช้จ่ายสื่อสารวิทยุคมนาคม ใหเป็นไปตามกฎหมายและระเบียบ สพฉ

2.1.3.4. อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ และพาหนะสนับสนุนปฏิบัติการอำนวยการ

2.1.3.5. ลักษณะการปฏิบัติหน้าที่

2.1.3.5.1. รับแจ้งเหตุการเจ็บป่วยฉุกเฉิน

2.1.3.5.2. ประสานงานงานรวมทั้งจ่ายงาน

2.1.3.5.3. กำกับการตามการการอำนวยการทั่วไปได้ตลอดเวลา

2.1.3.5.4. อำนวยการตรงเฉพาะโรคหรือภัยเฉพาะด้านหรือพื้นที่รับผิดชอบ หรือทั้งประเทศได้ตลอดเวลา

2.1.3.5.5. มีกระบวนการดำเนินการให้สามารถปฏิบัติการฉุกเฉินได้ตามหน้าที่ ขอบ เขต ความรับผิดขอบ และข้อจำกัดของหน่วยปฏิบัติการอำนวยการระดับที่ปรึกษา

2.1.3.5.6. 3P safety

2.1.3.5.7. ถ้าอำนวยการตรง vs อำนวยการทั่วไป

2.1.3.6. การบริหารจัดการและการดำเนินการของหน่วยปฏิบัติการอำนวยการระดับพื้นฐาน

2.1.3.6.1. ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบการแพทย์ฉุกเฉินในระดับท้องถิ่น

2.1.3.6.2. 4(7) ตามประกาศคณะกรรมการการแพทย์ฉุกเฉิน

3. บทที่ 3 แนวทางปฏิบัติสำหรับหน่วยงานหรือองค์กร ที่จะขออนุมัติเป็นหน่วยปฏิบัติการอำนวยการ

3.1. ในตาราง Numbers

4. บทที่ 4 แนวทางการเตรียมความพร้อมเพื่อรับการตรวจประเมินตามขั้นตอนของการอนุมัติเป็นหน่วยปฏิบัติการอำนวยการ

4.1. เตรียมความพร้อมในการยื่นความจำนง เพื่อขออนุมัติเป็นหน่วยปฏิบัติการอำนวยการ

4.1.1. 1. เตรียมข้อมูลและเอกสารที่เกี่ยวข้อง

4.1.1.1. แบบฟอร์มแสดงความจำนงเพื่อขออนุมัติเป็นหน่วยปฏิบัติการอำนวยการ

4.1.1.2. แบบประเมินความพร้อมเกี่ยวกับลักษณะและลักษณะการปฏิบัติหน้าที่ของหน่วยงานหรือองค์กรในการขออนุมัติ

4.1.2. 2. ยื่นเอกสารไปยัง สพฉ.

4.1.3. 3. เตรียมความพร้อมเพื่อรอรับการประเมิน

4.1.3.1. จัดให้มีการตรวจประเมินเพื่อตรวจสอบลักษณะการปฏิบัติหน้าที่ภายใน 60 วันหลังรับแจ้ง

4.1.3.2. รอรับการประสานจาก สพฉ.

4.2. การเตรียมความพร้อมของหน่วยงานหรือองค์กรเพื่อขอรับการตรวจประเมิน

4.2.1. 1. เตรียมความพร้อมก่อนวันตรวจประเมิน

4.2.1.1. เตรียมข้อมูลนำเสนอ

4.2.1.1.1. Present 15-20 mins

4.2.1.1.2. ลักษณะทั่วไปของหน่วยงานหรือองค์กร

4.2.1.1.3. ภารกิจของหน่วยงานหรือองค์กรที่เกี่ยวข้องกับงานด้านแพทย์ฉุกเฉิน

4.2.1.1.4. เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ที่ขออนุมัติเป็นหน่วยอำนวยการ

4.2.1.2. เตรียมผู้บริหารหน่วยงานหรือองค์กรหรือผู้รับมอบหมาย

4.2.1.2.1. เตรียมต้อนรับ

4.2.1.2.2. เตรียมถูกขอสัมภาษณ์

4.2.1.3. เตรียมผู้แทนผู้ปฏิบัติการ

4.2.1.4. เตรียมเอกสารหลักฐานสำคัญและจำเป็นที่ต้องแสดง

4.2.2. 2. การเตรียมความพร้อมในวันตรวจประเมิน

4.2.2.1. กรณีประเมิน ณ สถานที่ตั้งหน่วยงาน

4.2.2.1.1. เตรียมห้องประชุม หรือสถานที่สำหรับนำเสนอข้อมูล

4.2.2.1.2. เตรียมผู้นำเสนอข้อมูลหน่วยงาน

4.2.2.1.3. เตรียมผู้ให้สัมภาษณ์เพื่อให้ข้อมูลเพิ่ม

4.2.2.1.4. เตรียมผู้รับผิดชอบนำคณะผู้ตรวจประเมิน เยี่ยมชมสถานที่

4.2.2.2. กรณีประเมินแบบ Tele

4.2.2.2.1. เตรียมห้องประชุมสำหรับเสนอข้อมูลที่สามารถ รับ-ส่ง สัญญาณภาพและเสียงผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ได้

4.2.2.2.2. เตรียมผู้นำเสนอข้อมูลหน่วยงาน

4.2.2.2.3. ทดสอบสัญญาณภาพและเสียงให้พร้อม อย่างน้อย 30 นาทีก่อนกำหนด

4.2.2.2.4. เตรียมผู้ให้สัมภาษณ์เพื่อให้ข้อมูลเพิ่มเติม

4.2.2.2.5. เตรียมภาพถ่ายหรือภาพเคลื่อนไหวที่เกี่ยวกับสถานที่ของหน่วยปฏิบัติการ

4.3. รูปแบบและวิธีการตรวจประเมิน

4.3.1. วิธีการตรวจประเมิน

4.3.1.1. ตรวจเอกสาร

4.3.1.2. ตรวจประเมินสถานที่

4.3.1.3. สัมภาษณ์ผู้เกี่ยวข้อง

4.3.2. รูปแบบการตรวจประเมิน

4.3.2.1. ณ สถานที่ตั้ง

4.3.2.2. Tele

4.4. บทบาทหน้าที่ของทีมเลขานุการคณะผู้ตรวจประเมิน

4.4.1. จัดให้มีทะเบียนรับเรื่องการยื่นขออนุมัติ ระบุให้ชัดเจน

4.4.1.1. วัน

4.4.1.2. เวลา

4.4.2. ตรวจสอบความถูกต้อง ครบถ้วน ของเอกสารตามแบบประเมินตนเอง

4.4.2.1. แจ้งให้ดำเนินการให้ครบถ้วนก่อนวันตรวจประเมิน

4.4.3. เมื่อเอกสารครบถ้วน

4.4.3.1. ประสานผู้ประเมิน

4.4.3.2. กำหนดวันทำการประเมิน

4.4.3.3. ประสานวันนัดตรวจประเมินกับหน่วยงานหรือองค์กรนั้น

4.4.4. เมื่อกำหนดวัน เวลา นัดหมายตรงกันระหว่าง ผู้ตรวจประเมิน และหน่วยงาน/องค์กร

4.4.4.1. ทำหนังสือแจ้งหน่วยงานหรือองค์กรที่ขอรับการตรวจ

4.4.4.2. หนังสือเชิญผู้ตรวจประเมิน พร้อมขออนุมัติดำเนินการตามระเบียบ

4.4.5. เตรียมความพร้อมก่อนวันตรวจประเมิน

4.4.5.1. ให้จัดส่งแบบประเมินตนเองฯ พร้อมเอกสารให้ผู้ตรวจทำการศึกษาล่วงหน้า

4.4.5.2. แจ้งรูปแบบการประเมินแก่ผู้ตรวจประเมิน และหน่วยงานหรือองค์กรที่จะขอรับการตรวจประเมินทราบ

4.4.5.3. ประสานงานหน่วยงานที่รับตรวจเพื่อเตรียมความพร้อม ตามรูปแบบประเมิน

4.4.5.4. เตรียมความพร้อมเอกสารที่เกี่ยวข้อง แบบสรุปรายงานผลการตรวจประเมิน

4.4.6. วันตรวจประเมิน

4.4.6.1. ประสานงาน และบริหารจัดการให้กระบวนการตรวจเป็นไปตามกำหนด

4.4.6.2. อำนวยความสะดวก และสนับสนุนผู้ตรวจประเมิน จดประเด็นสำคัญ

4.4.6.3. หลัการตรวจประเมิน ร่วมสรุปผลการประเมินในการจดประเด็นสำคัญ

4.4.7. หลังการตรวจประเมิน

4.4.7.1. เตรียม

4.4.7.1.1. ความพร้อมข้อมูลผลการตรวจสอบลักษณะ และลักษณะการปฏิบัติหน้าที่ของหน่วยปฏิบัตการ

4.4.7.1.2. นำเสนอ

4.4.7.2. นำส่งอนุกรรมการเพื่อพิจารณา