1. Infection/Inflammation การติดเชื้อ
1.1. Causes
1.1.1. Epidural and Subdural Infection (การติดเชื้อที่ Epidural และ Subdural) - Meningitis (เยื่อหุ้มสมองอักเสบ) - Encephalitis (เนื้อเยื่อสมองอักเสบ) - Abscess (เป็นหนอง) - Pathogenes (เชื้อโรค) - Bacteria >> สาเหตุโรค TB - Virus (ไวรัส) *มักพบlymphocyte - Parasite (พยาธิ) - Fungus (เชื้อรา) * Cryptococcal infection (เป็นการติดเชื้อราที่มักพบในคนภูมิต่ำ ex. HIV)
2. Tumors
2.1. โรค
2.1.1. Central Nervous System Neoplasia ( เนื้องอกในระบบประสาทส่วนกลาง)
2.1.1.1. Comman manifestation (อาการทั่วไป) - มีความดันสมองเพิ่มขึ้น จากการขยายตัวของเนื้องอก เกิดภาวะน้ำในสมองอุดตัน ทำให้เกิดอาการ ปวดศีรษะ คลื่นไส้อาเจียน ตาพร่ามัว - รบกวนจิตใจ ทำให้มีอาการทางประสาทสัมผัส อาการชัก
2.1.2. Glioma (เซลล์ค้ำจุนที่แบ่งตัวเป็นก้อน / เนื้องอก)
2.1.2.1. Atrocytoma มี 4 ระดับ
2.1.2.1.1. Grade I pliocytic astrocytoma เนื้องอกที่ไม่ทราบสาเหตุหรือพันธุกรรม Grade II Anaplastic astrocytoma เนื้องอกแทรกซึมในเนื้อสมอง ไม่มีผนังหุ้ม จึงไม่มีขอบเขตของเนื้องอกที่ชัดเจน Grade III Anaplastic astrocytoma เนื้องอกแทรกซึมในเนื้อสมอง ไม่มีผนังหุ้ม จึงไม่มีขอบเขตของเนื้องอกที่ชัดเจน แต่มีการกระจายตัวและขยายตัวรวดเร็วกว่าระดับสอง Grade IV Glioblastoma เนื้องอกสมองที่มีความรุนแรง ถือเป็นมะเร็งที่ร้ายแรงที่สุด
2.1.3. Meningeal Neoplasm (เยื่อหุ้มสมองอักเสบ / เนื้องอก)
2.1.3.1. - มักเกิดในผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย - ส่วนมากจะเกิดในผู้ที่เป็นเนื้องอก Grade I - มักเกิดในสมองและไขสันหลัง
3. Cerbrovascular disease (โรคหลอดเลือดสมอง)
3.1. Causes
3.1.1. Thrombotic occlusion of vessels (เกิดการอุดตันของหลอดเลือด)
3.1.2. Vasculas rupture ( หลอดเลือดฉีกขาด)
3.2. attack
3.2.1. Glabal Cerebral Ischemia (เกิดการขาดเลือดเฉพาะจุด) Systolic pressure น้อยกว่า 50 mmHg จะเกิดการขาดเลือด ทำให้อาเจียน สมองส่วนที่ถูกกดทำงานไม่ได้ เช่น ถ้าไปกดส่วนการมองเห็น ก็จะทำให้มองไม่เห็น
3.2.2. Focal Cerebral Ischemia (เกิดภาวะขาดเลืดเป็นบริเวณกว้าง)
3.2.2.1. Cerebral arterial occlusion
3.2.2.1.1. Valvular disease ลิ้นหัวใจผิดปกติ Arterial fibrillation ภาวะหัวใจห้องบนสั่นพริ้ว **Myocardial infarct เป็นสาเหตุหลักที่ทำให้เกิดการอุดตันของหลอดเลือดแดงในสมอง เกิดมาจากลิ่มเลือดที่หลุดมาจากหัวใจฝั่งซ้ายแล้วหลุดมาอุดตันสมอง ส่วนเลือดดำจะไม่สามารถขึ้นสมองได้ ** หากเกิดการอุดตันที่บริเวณ carotid arteries ก็จะทำให้เสียชีวิต**
3.3. โรค
3.3.1. Primary Brain Parenchymal Hemorrhage (เลือดออกในเยื่อหุ้มสมองขั้นปฐมภูมิ) - มักเกิดในกลุ่มผู้สูงอายุ ที่อายุมากกว่า 60ปี - มีโรคความดันสูงอยู่แต่เดิม ** การที่เลือดออกรุนแรง + ความดันสูง อาจจะทำให้เส้นเลือดแตกทะลุไปยังห้องล่างด้านข้างของสมอง**
3.3.2. Subarachnoid Hemorrhage and Saccular Aneurysms (เลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองและหลอดเลือดโป่งพอง) - สาเหตุหลักมาจากการแตกหรือฉีกขาดของถุงกระเปาะ ซึ่งจุดที่รุนแรงสุดคือ Anterior communicating artery
3.3.3. Vascular malformations (การเรียงตัวผิดปกติของหลอดเลือด) - Anteriovenous malfunction (AVM) คือเลือดออกที่พยบ่อยสุดและอันตรายที่สุด
3.3.4. Cerabral Amyloid Angiopathy (CAA) (ผนังเส้นเลือดในสมองเปราะ อันเกิดจากการสะสมและตกตะกอนของโปรตีนอะไมลอยด์ของผนังหลอดเลือดแดงในสมอง) - มักพบในโรคอัลไซเมอร์ - ส่งผลทำให้ผนังหลอดเลือดอ่อนแอและเพิ่มความเสี่ยงต่อการตกเลือด
4. Developmental Malformations (การเจริญผิดปกติ)
4.1. Neutral tube defect (ความผิดปกติของท่อระบบประสาท) >> Anencephaly , Encephalocele , Spinabifida , Myelomeningocele ** Encephalocele (โรคไข้สมอง) มักเกิดในเด็ก แก้ปัญหาโดยการให้แม่ที่มีครรภ์รับประทาน Folic****
5. พยาธิสภาพสรีรวิทยาระบบประสาท ( PATHOLOGY OF NERVOUS SYSTEMATHOLOGY OF NERVOUS SYSTEM )
5.1. Hydrocephalus (น้ำคลั่งในสมอง /อุทกเศียร)
5.1.1. Cause of Hydrocephalus
5.1.1.1. CSF สะสมมากเกินไป ในระะบบหัวใจห้องล่างซ้าย
5.1.1.2. สาเหตุส่วนใหญเกิดจากการไหลหรือดูดซึมบกพร่อง หรือการผลิต CSF มากจนเกินไป
5.1.2. ประเภท
5.1.2.1. Non - communicating hydrocephalus (ภาวะโพรงสมองคั่งน้ำ ที่ไม่มีการติดต่อไปยังร่องสมองและช่องทางรอบๆไขสันหลัง)
5.1.2.2. Communicating hydrocephalus (ภาวะโพรงสมองคั่งน้ำ ที่ยังสามารถติดต่อไปยังร่องสมองและช่องทางรอบๆไขสันหลัง)
6. Trauma การบาดเจ็บ
6.1. Central Nervous System Trauma (การบาดเจ็บบริเวณส่วนกลาง) มักเป็นสาเหตุของการเสียชีวิตและความพิการ
6.1.1. การบาดเจ็บ 2 แบบ
6.1.1.1. Traumatic Parenchymal Injuries (การถูกกระทบกระแทกและบาดเจ็บ
6.1.1.2. Concussion >> reversible
6.2. Traumatic Vascular Injury (การบาดเจ็บที่หลอดเลือด)
6.2.1. Epidural Hematoma (เกิดการห้อเลือดหรือลิ่มที่บริเวณ Epidural) หลอดเลือดที่สำคัญสุดคือ หลอดเลือดแดง เพราะจะมีการขยายตัวอย่างรวดเร็วเป็นเวลาหลายชั่วโมงกว่าจะปรากฎ เป็นภาวะฉุกเฉินที่ต้องรีบระบายน้ำออกโดยทันที
6.2.2. Subdural Hematoma ( เกิดการห้อเลือดที่บริเวณ Subdural) ส่วนนี้จะเชื่อมกับหลอดเลือดดำ ส่วนใหญ่มักจะปรากฎภายใน 48 ชั่วโมงแรกเมื่อได้รับบาดเจ็บ ไม่จำเป็นต้องผ่าตัดฉุกเฉิน แต่ต้องวินิจฉัยให้ถูก
7. Cerebral Lymphoma (มะเร็งต่อมน้ำเหลือง)
7.1. - มักอยู่ที่ lymph tissues ที่มีอยู่ทั่วร่างกาย - มักเกิดในผู้ที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่องสูง เช่น ผู้ป่วยปลูกถ่ายอวัยวะ โรคเอดส์ - Diffuse large B-cell lymphoma (DLBCL) เป็นชนิดที่พบบ่อยสุดในทางจุลชีววิทยา - สมองเป็นส่วนที่มักพบรอยโรคแพร่กระจาย **อวัยวะที่มักจะกระจายมายังสมองมากที่สุดคือ Respiratory tract หรือ การเป็นมะเร็งปอด ซึ่งจะกระจายมาสมอง 50%**
8. Herniation ( เนื้อสมองปูด / ภาวะสมองเลื่อน)
8.1. ภาวะความดันในกะโหลกสูง ซึ่งเกิดเมื่อบางส่วนของสมองถูกบีบผ่านโครงสร้างต่าง ๆ ภายในกะโหลก และมีการขยายตัวรุนแรง
8.2. บริเวณที่เกิดภาวะสมองเลือด มี 3 จุด
8.2.1. - Subfalcine (cingulate) herniation - Transtentorial (Uncinate) hertion - Tonsilar herniation (เป็นจุดที่อันตรายที่สุด เพราะกดก้านสมอง ทำให้ศูนย์กลางการมีชีวิตหยุดทำงาน และเสียชีวิต)
9. Cerebral edema (สมองบวม)
9.1. Cause
9.1.1. Vasogenic edema (หลอดเลือดบว)
9.1.1.1. Cause
9.1.1.1.1. Neoplasms (เนื้องอก) Abscesses (หนอง) Meningitis (เยื้อหุ้มสมองอักเสบ) Hemorrhage (หลอดเลือดตีบแตก) Lead poisoning (พิษจากตะกั่ว) * ใช้ยากลุ่ม Corticosteroid เพื่อช่วยลดอาการบวมของเนื้อสมอง *
9.1.2. Cytotoxic edema ( การบวมน้ำที่เป็นพิษต่อเซลล์)
9.1.2.1. Cause
9.1.2.1.1. เกิดจากการที่เซลล์ภายในสมองเสียการรักษาสมดุล ทำให้เกิดกระบวนการออสโมซิส และทำให้น้ำเคลื่อนเข้าไปในเซลล์มาก จนเกิดการบวม
9.1.2.1.2. เซลล์เกิดการบาดเจ็บ ก่อให้เกิดการล้มเหลวของเซลล์
9.1.2.1.3. Hypoxia/ischemic ภาวะขาดออกซิเจน/ขาดเลือด