1. จุดเริ่มต้น : ... วงจรรายรับ
1.1. ความสัมพันธ์ระหว่างแฟ้มข้อมูลในรายรับ
1.1.1. ถ้ามองภาพออกมาแต่ละขั้นตอนเชื่อมโยงไปที่หน้าจอใด จะสามารถเข้าใจการตกแต่งบัญชีได้ หรือการดัดแปลงข้อมูลได้
1.2. หมายถึง อะไร จุดเริ่มต้นตั้งแต่รับคำสั่งซื้อ ไปจนถึงรับชำระเงินจากลูกค้า ไล่ทุกขั้นตอนของวงจรรายรับ/รายได้
1.2.1. 1. Sales Order = SO
1.2.2. 2. Credit Customer Service / Open Credit
1.2.3. 3. Shipping / Delivery / Transition
1.2.4. 4. Bill to Account Receivable / AR
1.2.5. 5. Cash Receipt collection / Receipt
1.3. ประเภทรายการบัญชีวงจรรายรับ
1.3.1. มี 3 รายการที่สำคัญ
1.3.1.1. 1.รายการขาย
1.3.1.2. 2. ปรับปรุงขาย เช่น ส่วนลดจ่าย/รับคืน
1.3.1.3. 3. ปรับปรุงหนี้ที่เก็บไม่ได้ เช่นลูกหนี้การค้า / รายได้จากการขาย / รายการรับชำระเงิน
1.4. ความเสี่ยงวงจรรายรับ
1.4.1. ผู้ตรวจสอบจะประเมินความเสี่ยงระดับใด
1.4.1.1. ส่งผลกระทบต่องานบริหารกิจการหรือไม่
1.4.1.2. ส่งผลต่อการดำเนินงานผิดพลาด
1.4.1.3. ส่งผลต่องบการเงินไม่ถูกต้องหรือไม่
1.4.1.4. การพยายามหลีกเลี่ยงภาษี
1.5. ขั้นตอนการตรวจสอบ
1.5.1. มี 5 ขั้นตอน
1.5.1.1. 1.กำหนดวัตถุประสงค์
1.5.1.2. 2. ทำความเข้าใจวงจรรายรับ
1.5.1.3. 3. ประเมินความเสี่ยง
1.5.1.4. 4.การทดสอบควบคุมวงจรรายรับ
1.5.1.5. 5. การตรวจสอบเนื้อหาสาระวงจรรายรับ
2. จำเป็นต้อง....ประเมินความเสี่ยง อะไรบ้าง
2.1. ความเสี่ยงในการสอบบัญชี
2.2. ความเสี่ยงความเป็นอิสระ
2.3. ความเสี่ยงด้านการควบคุมภายใน
2.4. ความเสี่ยงด้านกิจกรรมการดำเนินงาน/การทำงาน
2.5. ความเสี่ยงด้านจรรยาบรรณวิชาชีพบัญชี
2.6. ความเสี่ยงด้านกฏหมาย/หลักการ/แนวทางประมวลกฏหมายฯ
2.7. ความเสี่ยงระดับ สูง กลาง ต่ำ
2.8. การสื่อสารที่บกพร่อง
2.9. การประเมินความเสี่ยงในการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำคัญในงบการเงิน
3. ตรวจสอบเนื้อหาสาระวงจร
3.1. 1. ตรวจสอบความครบถ้วนและถูกต้อง
3.2. 2.ตรวจสอบการเกิดขึ้นจริง และสิทธิและภาระผูกพัน
3.3. 3. ตรวจสอบการบันทึกมูลค่า
4. ทดสอบการควบคุมวงจรรายรับ
4.1. 1.การทดสอบควบคุมทั่วไป เช่น การจัดโครงสร้างองค์กรและการแบ่งแยกหน้าที่ การอนุมัติรายการ การดูแลสินทรัพย์ การบันทึกรายการ
4.2. 2. การควบคุมด้านเอกสาร เช่น ต้องมีความครบถ้วน ถูกต้อง ทันเวลา แผนระบบเขตข้อมูล และมีการปรับปรุงสม้ำเสมอ
4.3. 3. การควบคุมด้านความเชื่อถือของข้อมูลทางบัญชี เช่น แบ่งแยกหน้าที่แต่ละฝ่ายออกจากกัน มีการกระทบยอดลูกหนี้สม่ำเสมอ สินค้าคงเหลือควรนับทุกเดือน มีการส่งรายงานยอดขายทุกเดือน มีการกระทบบัญชีเงินฝากธนาคาร
4.4. 4.การควบคุมเข้าถึงโปรแกรมงานและแฟ้มข้อมูล เช่น กำหนดรหัสผ่าน ทำแฟ้มทะเบียน และการรับชำระเงิน และมีการป้องกันทางกายภาพ เช่น คลังสินค้า
4.5. 5.ควบคุมระบบงาน ควบคุมการนำเข้า การสอบทานเครดิต การตรวจนับจำนวนสินค้า
4.6. 6. การควบคุมการประมวลผล เช่น แก้ไขข้อผิดพลาดที่พบในการประมวล แก้ไข และรายการปรับปรุงในแฟ้มร่องรอยการตรวจสอบ
5. ประเมินความเสี่ยง วงจรรายรับ
5.1. 1. ให้สินเชื่อเกินวงเงินเครดิต เนื่องจากจะเกิดหนี้สูญ และเรียกเก็บไม่ได้ ผลสุดท้ายต้องตรวจสอบว่าขายเกินวงเงิน ใช่หรือไม่
5.2. 2. จัดส่งผิดพลาด ทำให้ลูกค้าไม่พอใจ ส่งไม่ตรงเวลา พอท้ายที่สุดตัดสต๊อกไม่ตรงระบบเบิก กับระบบจัดส่ง
5.3. 3.ขโมยสินค้า สินค้าหายจากในระบบ พอถึงเวลาตรวจนับสินค้า เปรียบเทียบไม่ตรงกัน
5.4. 4.บันทึกขายโดยไม่ส่งให้ลูกค้า ทำให้ยอดขายสูงเกินไป ต้องมีการตรวจสอบในโปรแกรมและขั้นตอนการทำงาน
5.5. 5.อนุมัติขายเชื่อให้ลูกค้าโดยไม่ได้รับอนุญาติ ทำให้เกิดหนี้สูญ ยอดขายสูง ทุจริต ควรมีกำหนดรหัสผ่านสำหรับผู้ดูแล
5.6. 6. การยักยอดเงิน ทำให้เงินสดสูญหายและยอดลูกหนี้ไม่ถูกต้อง ควรมีการกระทบยอดเงินสดประจำวัน และยืนยันยอด
5.7. 7. การผ่านรายการปรับปรุงลูกหนี้ที่ผิดพลาดไป มีการควบคุมการประมวลผลแบบตรวจสอบย้อนหลังได้
5.8. 8. แฟ้มข้อมูลสูญหาย ข้อมูลที่เป็นความลับอาจรั่วไปหาบริษัทคู่แข่งได้
5.9. 9. ประสิทธิ์ภาพการทำงานต่ำ ทำให้ค่าใช้จ่ายสูงขึ้นในการทำงานหลายส่วน เมื่อเปรียบเทียบกับอดีต
6. ทำความเข้าใจวงจรรายรับ
6.1. 2.1 เอกสารประกอบการบันทึกรายการค้าในวงจรรายรับ
6.1.1. 1.ใบคำสั่งซื้อลูกค้า
6.1.2. 2.ใบสั่งขาย
6.1.3. 3.ใบส่งสินค้า/ใบรับคืนสินค้า
6.1.4. 4.ใบกำกับภาษี
6.1.5. 5.ใบเสร็จรับเงิน
6.2. 2.2โครงสร้างแฟ้มและฟิลดข้อมูล
6.2.1. 1. แฟ้มข้อมูลหลักลูกค้า Master file
6.2.2. 2.แฟ้มข้อมูลประเภทต่างๆ เช่น ลูกหนี้ เจ้าหนี้ รหัสสินค้า
6.2.3. 3.แฟ้มอ้างอิงอื่นๆ เช่น อัตราค่าขนส่ง
6.3. 2.3แฟ้มรายการค้า
6.3.1. แฟ้มคำสั่งขาย
6.3.2. แฟ้มใบแจ้งหนี้
6.3.3. แฟ้มผิดพลาด/แฟ้มพักบัญชีต่างๆ
6.3.4. แฟ้มอ้างอิงอื่นๆ
7. วัตถุประสงค์ของการตรวจสอบ
7.1. ความมีอยู่จริง
7.1.1. ลูกหนี้ต้องมีตัวตน ใช้วิธีส่งหนังสือยืนยันยอดลูกหนี้/เจ้าหนี้การค้า
7.2. ความครบถ้วน
7.2.1. บันทึกยอดครบถ้วนตามงวดบัญชีจริงๆ
7.3. ความถูกต้อง แม่นยำ
7.3.1. ยอดขายบันทึกถูกต้องทั้ง 2 ขา เดบิต เครดิต จำนวน ราคา ถูกต้องตามเอกสาร
7.4. สิทธิและภาระผูกพัน
7.4.1. ลูกหนี้ตามเงื่อนไขงบการเงินเป็นภาระผูกพันเพราะกิจการมีสิทธิ์ได้รับเงินตามจำนวนนี้
7.5. วัดมูลค่า
7.5.1. ลูกหนี้ที่ได้รับชำระหนี้จริง หักด้วยค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญที่เหมาะสม
7.6. แสดงรายการและเปิดเผยข้อมูล
7.6.1. การจัดประเภทและเปิดเผยรายการตามมาตรฐานที่กำหนดรับรองไว้