ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์2468

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์2468 by Mind Map: ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์2468

1. How to use this template

2. เบ็ดเสร็จทั่วไป

2.1. บุคคลใดจทำพินัยกรรมก็ได้

2.1.1. ถ้าตาย แล้วมิได้จัดตั้งผู้จัดการมรดก

2.1.1.1. ให้บุคคลได้รับทรัพย์มรดกโดยพินัยกรรมหรือสิทธิืํํธรรมมากที่สุด ทำศพ

2.2. ประเภทผู้รับพินัยกรรม

2.2.1. ผุ้รับพินัยกรรมทั่วไป

2.2.1.1. คือบุคคลที่มีสิทธิ์ในมรดกทั้งหมด มิได้แยกเป็นพิเศษ

2.2.2. ผุ้รับพินัยกรรมลักษณะเฉพาะ

2.2.2.1. บุคคลได้รับเฉพาะอย่างแยกไว้เป็นพิเศษ

3. มรดก

3.1. การตกทอดมรดก

3.1.1. โดยสิทธิทางกฎหมาย

3.1.1.1. ทายาทโดยธรรม

3.1.2. โดยพินัยกรรม

3.1.2.1. ผู้รับพินัยกรรม

3.2. การเป็นทายาท

3.2.1. ให้ถือว่าเด็กที่เกิดมารอดภายใน 310เป็นทายาท

3.2.2. บุคคลต่อไปนี้มิให้รับมาดก

3.2.2.1. เจ้ามรดกอาจถอด ผู้ไม่สมควรได้มรดก ไว้เป็นลายลักษณ์อักษร

3.3. การตัดมิให้รับมรดก

3.3.1. เจ้ามรดาจะตัดทายาทโดยธรรมออกได้โดยทำ

3.3.1.1. โดยพินัยกรรม

3.3.1.2. ทำเป็นหนังสือ มอบไว้แก่พนักงานเข้าหน้าที่

3.3.2. จะถอนเจตนาเมื่อไรก็ได้

3.4. การสละมรดก

3.4.1. ต้องทำชัดแจ้งเป็น

3.4.1.1. หนังสือ

3.4.1.2. สัญญาประนีประนอมยอมความ

3.5. บทเบ็จเสร็จทั่วไป

3.5.1. ถ้าผู้ใดตายไม่ได้ทำพินัยกรรม

3.5.1.1. ให้ทายาทโดยชอบธรรม

3.5.1.1.1. พระภิกษุเรียกร้องเอาทรัพย์มรดกในฐานะทายาทโดยชอบธรรมมิได้

3.6. ทายาทโดยธรรม

3.6.1. ผู้สืบสัญดาน(คู่สมรส)

3.6.2. บิดามารดา

3.6.3. พี่น้องร่วมบิดามารดา

3.6.4. พี่น้องร่วมบิดาหรือมาดา

3.6.5. ปู่ย่าตายาย

3.6.6. ลุงป้าน้าอา

4. ครอบครัว

4.1. การหมั้น

4.1.1. หมั้นได้เมื่อ ผญ ผช อายุ 17 ปีแล้ว

4.1.2. ผู้ยาวต์ได้ได้รับความยินยอมจาก(ถ้าปราศจากความยินยอมถือว่า โมฆียะ)

4.1.2.1. บิดาและมารดา

4.1.2.2. บิดาหรือมารดา

4.1.2.3. ผู้รับบัตรบุญธรรม

4.1.2.4. ผู้ปกครอง

4.1.3. หมั้นสมบูรณืเมื่อ

4.1.3.1. ฝ่ายชายได้ส่งมอบของหมั้นให้แก่ฝ่ายหญิง

4.1.3.1.1. ฝ่ายหญิงสิทธฺ์ไม่ต้องคืนสินสอดฝ่ายชาย ถ้าฝ่ายชายผิด

4.1.4. ไม่เป็นเหตุศาลบังคับให้สมรสได้

4.1.4.1. ข้อตกลงประเภทเบี้ยปรับ ถ้าไม่แต่ง ถือเป็น โมฆียะ

4.2. เงื่อนไขสมรส

4.2.1. สมรสกระทำได้เมื่อ ชายหหญิง อายุ 17 แล้ว ศาลอนุญาติให้สมรส

4.2.2. ขายหรือหญองวิกลริต ศาลสั่ง คนไร้ควาสามารถ ไม่สามารถแต่งงานได้

4.2.3. บุตรบุญธรรม ผู้รับบุตรบุญธรรม แต่งงานกันไม่ได้

4.2.4. กฎ 310 วัน

4.2.4.1. หญิงที่สามีตายจะสะสมรสใหม่ไม่ได้

4.2.4.2. ข้อเว้น

4.2.4.2.1. คลอดบุตรแล้วระหว่างนั้น

4.2.4.2.2. สมรสกับคนเดิม

4.2.4.2.3. มีใบรับรองแพทย์มิได้ครภ์

4.2.4.2.4. คำสั่งศษลว่าสมรส

4.2.5. สมรสแบบยินยอมกระทำได้โดย

4.2.5.1. ลงลายชื่อ

4.2.5.2. หนังสือแสดงความยินยอม พร้อมลงลายมือชื่อ

4.2.5.3. ถ้ามีเหตุ สมรสด้วยวาจาต่อหน้าพยาน สองคนก็ได้ ถือว่า วันแสดงเจตนา คือ วันจดทะเบียนสมรส

4.2.5.3.1. ถ้าชายหญิงต่อจดทะเบียนสมรสภายใน 90 วันนับแต่ว่าที่อาจขอจดทะเบียนได้

4.2.5.4. ความยินยอมให้ที่ให้แสดงต่อ

4.2.5.4.1. หน้านายทะเบียน

4.2.5.4.2. นายทะเบียนบันทึกยินยอม

4.2.6. สมรสในต่างประเทศ

4.2.6.1. พนักงานสถานทุตรับจดทะเบียน

4.3. การสิ้นสุดการสมรส

4.3.1. การสมรสสิ้นสุดด้วย

4.3.1.1. ความตาย

4.3.1.2. การหย่า

4.3.1.3. ศาลพิพากษา

4.4. บุตรบุญธรรม

4.4.1. ผู้รับบุตรบุญธรรมได้ต้อง 25ปี

4.4.1.1. ต้องได้รับความยินยอมจากคู่สมรส

4.4.1.1.1. การรับหรือเลิกรับบุตรบุญธรรมจะต้องจดทะเบียน

4.4.1.2. บุตรบุญธรรมฐานะเดียวกับบูตรชอบด้วยกฎหมาย

4.4.1.3. ผุ้รับบุตรบุญธรรมไม่มีสิทธิ์ในมรดกของบุตรบุญธรรม

4.4.2. กรณีบุตรบุญกรรมเป็นเยาวชน

4.4.2.1. ต้องได้รับความยินยอมจากพ่อแม่

4.4.3. กรณีบุตรบุญธรรมเป็นเด็กถูกทอดท้องอยู่ในสถานสงเคราะห์

4.4.3.1. สถานสงเคราะห์คือผู้ยินยิม

4.4.4. กรณีบุตรบุญธรรมไมใช่ผู้ถูกทอดทอ้งในอยู่อุปการะสถานสงเคราะห์

4.4.4.1. พ่อแม่ทำ "หนังสือมอบอำนาจ" ยินยอมแทนตน

4.5. ค่าอุปการะเลี้ยงดู

5. ฝ่ายชายเรียกสินสอดคืนได้

6. บรรพ1

6.1. เบ็ดเสร็จทั่วไป

6.1.1. เมื่อไม่มีบทกฎหมายให้วิฉัยคดีด้วยจารีตประเพณี

6.1.1.1. เมื่อไม่มีจารีตประเพณี ให้เทียบกฎหมายใกล้เคีย

6.1.1.2. เมื่อไม่กฎหมายใกล้เคียง ให้ใช้หลักกฎหมายทั่วไป

6.1.2. ให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่า ทุกคนกระทำโดยสุจริต

6.1.3. ถ้าจะเสียดอกเบี้ยแก่กัน และมิได้กำหนดอัตราดอกเบี้ย ให้ใช้อัตรา ร้อยละ 7 1/2ต่อปี

6.1.4. บุคคลจะทำหนังสือไม่ต้องเขียนเอง แต่หนังสือนั้นต้องมี ลายมือชื่อบุคคนั้น

6.1.5. ลายมือชื่อ

6.1.5.1. หากมีพยานสองคนลงลายชื่อ บน ลายพิมนิ้วมือถือ แกงใด หรือ ตรา ประทับ เท่า กับ ลายมือชื่อ

6.2. บุคคล

6.2.1. สภาพบุคคล

6.2.1.1. ถ้าไม่เมื่อวันเกิด ให้เอาปีเกิดแทน

6.2.1.2. สภาพบุคคลเริ่มเมื่อรอดแล้วอยู่รอดเป็นทารัก

6.2.2. ความสามารถ

6.2.2.1. บรรลุนิติภาวะ เมื่ออายุ 20ปี

6.2.2.2. บรรลุนิติภาวะ เมื่อทำการสมรส ไม่ว่าจะตอน อายุ 17 หรือ ขออนุญาลศษล

6.2.2.3. ผู้เยาว์กระทำนิติกรรมใดๆ ต้องได้รับความยินยอมของผู้แทนโดยชอบธรรมก่อน

6.2.2.3.1. ถ้าทำไปโดยขาดความยินยอม ถือว่า เป็น โมฆียะ

6.2.2.3.2. กรณีผู้เยาว์รู้สึกว่า ผุ้แทนไม่ให้ความยินยอมโดยไม่สมควร ร้องศาลให้อนุญาติได้

6.2.2.3.3. กรณีผู้แทนสึกว่า การงานที่ยินยอม ก่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้เยาว์ อาจร้องขอต่อศาลได้

6.2.2.4. ผุ้เยาอาจทำพินัยกรรมได้ตอน อายุ 15 ปี

6.2.2.5. ศาลสั่ง

6.2.2.5.1. คนไร้ความสารมารถ

6.2.2.5.2. คนเสมือนไรความสามารถ

6.2.3. ภูมิลำนำ

6.2.3.1. ถ้าบุคคลอยู่หลายแห่ง ให้ถือเอาแห่งหนึ่งเป็นกภูมิลำเนา

6.2.3.2. เอาถิ่นที่อยู่เป็นภูมิลำเนา ถ้าไม่ปรากฎภูมิเลำเน

6.2.3.3. บุคคลซึ่งไม่มีที่อยู่ปกติเป็นหลักแหบ่ง พบที่ไหน ถิ่นนั้นคือ ภูมิลำเนา

6.2.3.4. ภูมิลำเนา ข้าราชการ

6.2.3.4.1. ถิ่นที่ตำแหน่งหน้าที่

6.2.3.5. ถิ่นภูมิลำเนาของคนติดคุกร

6.2.3.5.1. คุก

6.2.4. สาบสูญ

6.2.4.1. คือ บุคคลใดไปเสียจากภูมิลำเนา

6.2.4.1.1. เวลาล่วงไปหนึ่งปี

6.2.4.1.2. เวลาตลอด 5ปี

6.2.4.1.3. เวลา เหลือ 2 ปี

6.3. นิติบุคคล

6.3.1. สิทธิ์หน้าที่เช่นเดียวกับ บุคคลธรรมดา

6.3.2. ความประสงค์ของนิติบุคคลย่อมแสดงอกโดย ผู้แทน นิติบุคคล

6.3.2.1. กรณีผู้แทนนิติบุคคลมาก

6.3.2.1.1. การดำเนินกิจการไปตามสียงข้างมากนิติบุคคลนั้น

6.3.2.2. การเปลี่ยนตัว แก้ไขจำกัด อำนาจของผู้แทนนิติบุคคคล

6.3.2.2.1. ให้มีผลต่อเมื่อ

6.3.2.3. ถ้าการกระทำตามหน้าที่ของผุ้แทนบุคคล

6.3.2.3.1. ส่งผลเสียหายแก่บุคคลอื่น

6.3.2.3.2. นิติบุคคลต้องชดใช้ แต่ไปไล่เบี้ยกับผุ้แทนได้