1. กลไกการเกิดโรค
1.1. โรคตับแข็งCirrhosis
1.1.1. ติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ B
1.1.1.1. เกิดการอักเสบ
1.1.2. ดื่มสุรา
1.1.2.1. เกิด Fatty liver
1.1.2.1.1. เกิดการอักเสบ
1.1.2.2. เยื่อบุกระเพาะอาหารถูกทำลาย
1.1.2.2.1. เกิดกรดในกระเพาะอาหารมากขึ้น
1.1.3. หลอดเลือดอุดตันในเซลล์ตับ
1.1.3.1. เซลล์ตับหดตัว
1.1.3.1.1. เกิด Portal hypertension ความดันในPortal vein เพิ่มขึ้น
1.1.4. ตับเสียหน้าที่
1.1.4.1. ระบบภูมิคุ้มกันภายในตับลดลง
1.1.4.1.1. ตับไม่สามารถกำจัดแบคทีเรียได้
1.1.4.2. การแข็งตัวของเลือดลดลง
1.1.4.2.1. เลือดออกง่าย หยุดยาก
1.1.4.3. ไม่สามารถขับ Bilirubin ออกจากร่างได้
1.1.4.3.1. เกิดตาเหลือง ตัวเลือง Jaundice
1.1.4.3.2. Bilirubin คั่งในชั้นไขมันใต้ผิวหนัง
2. อาการ
2.1. อาเจียนเป็นเลือด
2.2. ตาตัวเหลือง
2.3. ปวดบริเวณท้องบ่อยๆ
2.4. ท้องโตตึง(ascites)
2.5. ลิ้นมีฝ้าขาว
2.6. นอนไม่ค่อยหลับ
2.7. นอนราบแล้วแน่น ต้องนอนศีรษะสูง
2.8. อ่อนเพลีย กำลังกล้ามเนื้อระดับ 4
2.9. สีหน้าเครียด ตอบคำถามสั้นๆ
3. lab
3.1. CBC
3.1.1. WBC count
3.1.1.1. มีค่า 17.50
3.1.1.1.1. เสี่ยงติดเชื้อแบคทีเรีย
3.1.2. RDC count
3.1.2.1. มีค่า 1.24 ตำ่กว่าปกติ
3.1.2.1.1. เสี่ยงโลหิตจาง
3.1.3. Hemoglobin
3.1.3.1. มีค่า 3.9 ต่ำกว่าปกติ
3.1.4. Hematocrit
3.1.4.1. มีค่า 10.6 ต่ำกว่าปกติ
3.1.5. RDW
3.1.5.1. มีค่า28.7 สูงกว่าปกติ
3.1.6. Neutrophil
3.1.6.1. มีค่า75.8 สูงกว่าปกติ
3.1.6.1.1. เสี่ยงติดเชื้อแบคทีเรีย
3.1.7. Lymphocyte
3.1.7.1. มีค่า16ตำ่กว่าปกติ
3.1.7.1.1. เกิดการติดเชื้อแบคทีเรีย
3.1.8. Monocyte
3.1.8.1. มีค่า 6.6
3.1.8.1.1. ทำให้หลอดเลือดอักเสบ
3.2. UA
3.2.1. color
3.2.1.1. เหลืองเข้ม
3.2.1.1.1. ขาดน้ำ
3.2.2. Appearance
3.2.2.1. สีขุ่น
3.2.3. Urobilinogen
3.2.3.1. ++
3.2.3.1.1. เซลล์ตับอักเสบ
3.2.4. Blood
3.2.4.1. +
3.2.4.1.1. มีเลือดออกทางเดินปัสสาวะ
3.2.5. RBC
3.2.5.1. 5-10 ผิดปกติ
3.2.5.1.1. อาจมีนิ่ว เนื้องอก การอักเสบ
3.2.6. WBC
3.2.6.1. 5-10 ผิดปกติ
3.2.6.1.1. อาจเป็นโรคไตหรือกระเพาะปัสสาวะติดเชื้อ
3.2.7. Bacteria
3.2.7.1. Few
3.2.7.1.1. มีการติดเชื้อ
3.2.8. Protein
3.2.8.1. +
3.2.8.1.1. สภาวะไม่พบโปรตีนในปัสสาวะ
3.3. LFT
3.3.1. Albumin
3.3.1.1. มีค่า 2.2 ต่ำกว่าปกติ
3.3.1.1.1. อาจเกิดโรคตับแข็ง
3.3.2. Globulin
3.3.2.1. มีค่า 3.0 ต่ำกว่าปกติ
3.3.3. Total birirubin
3.3.3.1. มีค่า13.32สูงกว่าปกติ
3.3.3.1.1. การกำจัดของเสียของตับทำงานได้ลดลง
3.3.4. Direct bilirubin
3.3.4.1. มีค่า 10.03 สูงกว่าปกติ
3.3.4.1.1. การกำจัดของเสียงของตับทำงานได้ลดลง
3.3.5. AST(SGOT)
3.3.5.1. มีค่า179 มีค่าสูงกว่าปกติ
3.3.6. ALT (SGPT)
3.3.6.1. มีค่า 80 มีค่าสูง
3.3.6.1.1. เกิดการอาเจียน ปวดท้องได้
3.4. coagulation
3.4.1. HBsAg
3.4.1.1. Pasitive
3.4.1.1.1. มีความเสี่ยงโรคไวรัสตับอักเสบ
3.4.2. PT
3.4.2.1. มีค่า 13.8 มีค่ามากกว่าปกติ
3.4.2.1.1. เลือดใช้เวลานานในการแข็งตัว
3.4.3. INR
3.4.3.1. มีค่า 1.36 มีค่าสูงกว่าปกติ
3.4.3.1.1. เสี่ยงต่อภาวะเลือดออกง่าย
3.5. BUN
3.5.1. มีค่า 56 มีค่าสูงกว่าปกติ
3.5.1.1. การทำงานของไตผิดปกติ
3.6. Cr
3.6.1. มีค่า1.6มีค่าสูงกว่าปกติ
3.6.1.1. เกิดการตกเลือดในช่องท้อง ทางเดินอาหาร อาจนำไปสู่ไตวายเฉียบพลัน
3.7. eGFR
3.7.1. มีค่า49.50
3.7.1.1. ไตเรื้อรังระยะที่ 3
3.8. Cl
3.8.1. มีค่า 105.4ค่าสูงกว่าปกติ
3.9. ca
3.9.1. มีค่า 8.0 ค่าตำ่ว่าปกติ
3.9.1.1. เกิดHypocalcemia
3.10. Mg
3.10.1. มีค่า 1.7 ค่าต่ำกว่าปกติ
3.10.1.1. เกิดHypomannecemia มักพบในผู้ติดสุรา
3.11. Po4
3.11.1. มีค่า 3.5 ค่าต่ำกว่าปกติ
3.11.1.1. ทำให้เกิดความดันโลหิตต่ำ
3.12. Total protein
3.12.1. มีค่า 4.9 ค่าต่ำกว่าปกติ
3.13. Albumin
3.13.1. มีค่า 2.2 ค่าต่ำกว่าปกติ
3.13.1.1. บวมน้ำ
3.14. Globulin
3.14.1. มีค่า 2.7 ค่ำต่ำกว่าปกติ
3.14.1.1. ลำไส้อักเสบ,ไตรั่ว
4. ปัจจัยเสี่ยงไวรัสตับอักเสบ
4.1. การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
4.1.1. การดื่มแอลกอฮอล์อาจทำให้เกิดโรคกระเพาะอาหารอักเสบ เป็นแผลในกระเพาะเลือดออกในกระเพาะอาหาร เส้นเลือดดำที่หลอดอาหารโป่ง
4.1.2. การดื่มแอลกอฮอล์ส่งผลต่อตับอ่อน ทำให้ตับอ่อนอักเสบ
4.1.3. การดื่มแอลกอฮอล์มีผลต่อตับ เมื่อดื่มนานเข้าจะทำให้เกิดโรคตับแข็ง ซึ่งทำให้อาจเป็นมะเร็งตับได้
4.2. โรคอ้วน
4.2.1. การมีน้ำหนักเกินจะเพิ่มความเสี่ยงของการเกิดภาวะต่างๆ ที่อาจนำไปสู่โรคตับแข็งได้ เช่น โรคไขมันคั่งตับที่ไม่ได้เกิดจากแอลกอฮอล์
4.3. ไวรัสตับอักเสบ
4.3.1. เป็นหนึ่งในสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดโรคตับอักเสบและตับแข็งทั่วโลก
4.4. สูบบุหรี่
4.4.1. โรคมะเร็งปอด โรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง ถุงลมโปงพอง ปอดอักเสบ (ปอดบวม) วัณโรคปอด การสูบบุหรี่เพิ่มความเสี่ยงของภาวะไตวายสูงถึง 60% ยิ่งสูบบุหรี่มากเท่าไหร่ ความเสี่ยงที่จะเปนโรคไตวายยิ่งสูงขึ้นเท่านั้น
4.5. รับประทานอาหารรสจัด
4.5.1. เนื้อเยื่อระบบทางเดินอาหารอักเสบและบวมแดง ส่งผลใหเกิดกรดไหลย้อน ลำไส้แปรปรวน และท้องผูกสลับทองเสีย
4.6. รับประทานอาหารไม่ตรงเวลา
4.6.1. อาจทำให้เกิดมะเร็งกระเพาะอาหาร กรดไหลย้อน น้ำตาลในเลือดลดลง โรคลำใส้แปรปรวน โรคกระเพาะ
4.7. ดื่มน้ำร่วมกับผู้อื่น
4.7.1. อาจทำให้เกิดการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบได้
4.8. ไม่ออกกำลังกาย
4.8.1. งานที่ทำต้องยกของหนัก ใช้แรงเป็นประจำ
4.9. การเผชิญกับความเครียดและการปรับตัว
4.9.1. ส่วนใหญ่เครียดเรื่องงาน รายได้ไม่แน่นอน
4.10. ปัสสาวะสีเข้ม จำนวนมาก
4.10.1. ดื่มน้ำน้อยเกินไป แต่ถ้าหากมั่นใจว่าดื่มน้ำมากพอ แต่ปัสสาวะยังคงเข้มอยู่ อาจมีโรคไตแฝง มีอาการตัวเหลือง
5. แนวทางรักษา
5.1. กระบวนการพยาบาล
5.1.1. ด้านร่างกาย
5.1.1.1. ตรวจร่างกาย
5.1.1.1.1. หลีกเลี่ยง การรับประทานรสจัด หลีกเลี่ยง การรับประทานยาสมุนไพร เลิกรับประทานยาต้ม
5.1.2. ด้านจิตใจ
5.1.2.1. ส่งเสริมคุณค่าและความเชื่อ เนื่องจากผู้ป่วยมีรอยสักเป็นรูปพระพุทธเจ้าเล็กๆ บริเวณไหล่และมีสร้อยพระ
5.1.2.1.1. ให้คำปรึกษาการเผชิญความเครียด ส่งเสริมการนั่งสมธิ ทำกิจกรรมที่ผ่อนคลาย
5.1.3. ด้านสังคม
5.1.3.1. แนะนำให้ลดการดื่มสุรากับเพื่อนร่วมงาน ดื่มเป็นน้ำเปล่าแทน
5.1.3.1.1. แบ่งเวลาให้กับครอบครัวและทำกิจกรรมร่วมกัน
5.2. แผนการรักษา
5.2.1. order for one day
5.2.1.1. 20/06/66
5.2.1.1.1. CBC,BUN,Cr,Elyte,Ca,Mg,PO4LFT,Coag,AntiHIV,HBsAg,AntiHCV,Lactate,H/C*2
5.2.1.1.2. GM LPRC 2 unit
5.2.1.1.3. FFP 4 unit
5.2.1.1.4. NSS 1000 ml IV drip 100 ml/hr
5.2.1.1.5. NG lavage / Irrigate จนใส,CXR
5.2.1.1.6. DTX stat then q 6 hr keep 80 -180mg%
5.2.1.1.7. Hct stat then q 6 hr if ลดลง≥3notify
5.2.1.2. 21/06/66
5.2.1.2.1. G/M LPRC 2 unit IV drip unit ละ 3 hr พร้อมไปห้อง scope
5.2.1.2.2. 5DN/2 1000 ml IV rate 80 ml/hr
5.2.1.2.3. Hct หลังให้เลือด (keep ≥25%)
5.2.1.2.4. Hct q̅6 hr if ลดลง ≥ 3 notify
5.2.1.2.5. DTX stat then q̅6 hr keep 80- 180 mg%
5.2.1.2.6. ATK for COVID-19
5.2.1.2.7. Transamine 250 mg IV q̅8 hr
5.2.1.3. 22/06/66
5.2.1.3.1. Hct q̅6 hr if drop ≥ 3 notify Hct %ของเม็ดเลือดแดงต่อปริมาณเลือดทั้งหมด
5.2.1.3.2. DTX q̅6 hr keep 80-180 mg% DTX เจาะระดับน้ำตาลในเลือด
5.2.1.3.3. 5DN/2 1000ml V rate 80 ml/hr ส่งไปEGD(การดูทางเดินอาหารส่วนต้น)
5.2.2. order for continue
5.2.2.1. 20/06/66
5.2.2.1.1. Record V/S, I/O, RetainedNG, Foley’scath ,NPO
5.2.2.1.2. Losec 40 mg q 12 hr.
5.2.2.1.3. Ceftriaxone 2 g V OD
5.2.2.1.4. Sandostatin 1 amp V stat then 2 amp V +5DW 100 ml V 25 ml/hr.
5.2.2.1.5. Thaiamine 100 mg V OD
5.2.2.2. 21/06/66
5.2.2.2.1. Off Losec
5.2.2.2.2. Prevacid 60 mg IV stat. then 60mg+ NSS 100 ml IV rate 10 ml/hr
5.2.2.2.3. Plasil 10 mg IV prn for NSV
5.2.2.2.4. Vitamin K 10 mg IV OD x 3 days