สื่อ นวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการเรียนรู้และการสื่อสาร

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
สื่อ นวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการเรียนรู้และการสื่อสาร by Mind Map: สื่อ นวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการเรียนรู้และการสื่อสาร

1. ความหมาย

1.1. นวัตกรรม

1.1.1. สื่อ

1.1.1.1. สื่อการสอน หมายถึง ตัวกลางหรือสิ่งต่างๆ เช่น วัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือ และเทคนิควิธีการ รวมทั้งกิจกรรมต่างๆ ที่ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ เกิดการพัฒนา และสามารถนำความรู้ไปที่รับนั้นไปใช้ในการประกอบอาชีพ ตลอดจนการดำรงชีวิตได้อย่างมีความสุข และมีประสิทธิภาพ https://www.classstart.org/classes/297

1.1.1.2. ทรัพยากรที่ใช้ในการเรียนรู้

1.1.1.2.1. ทรัพยากรการเรียนรู้ หมายถึง ทรัพยากรทุกชนิด ซึ่งผู้เรียนสามารถใช้แบบเชิงเดี่ยว หรือแบบผสม แบบไม่เป็นทางการ เพื่อเอื้ออำนวยต่อการเรียนรู้ ทรัพยากรการเรียนรู้ ได้แก่ข้อสนเทศ/ข่าวสาร บุคคล วัสดุ เครื่องมือ เทคนิค และอาคารสถานที่ https://eclassnet.kku.ac.th/etraining/file/1200395643

1.1.2. นวัตกรรมกับการศึกษา

1.1.2.1. นวัตกรรมทางการศึกษา หรือ Educational Innovation คือ การนำเอาสิ่งใหม่ซึ่งอาจจะอยู่ในรูปของความคิดหรือการกระทำ รวมทั้งสิ่งประดิษฐ์ก็ตามเข้ามาใช้ในระบบการศึกษา เพื่อมุ่งหวังที่จะเปลี่ยนแปลงสิ่งที่มีอยู่เดิมให้ระบบการจัดการศึกษามีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น https://docs.google.com/presentation/d/1ZVG95c7MNfBG7Qsq92iOzEYTj9zE7_AxWa4pWn84e3Y/htmlpresent#

1.1.2.2. การยอมรับนวัตกรรม

1.1.2.2.1. การยอมรับนวัตกรรม หมายถึง กระบวนการที่บุคคลได้ศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับนวัตกรรมและ น ามาวิเคราะห์ ประมวล เปรียบเทียบความต้องการ ศักยภาพและบริบทของตนเอง ปรึกษาหารือและขอความเห็น จากบุคคลรอบข้าง ตลอดจนการทดลองใช้นวัตกรรมในบริบทของตนเองก่อนที่จะมีการตัดสินใจ

1.2. เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้

1.2.1. การเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยี(Learning by Technology) ได้แก่ การเรียนรู้ความรู้ใหม่ๆ และฝึก ความสามารถ ทักษะ บางประการโดยใช้สื่อเทคโนโลยีเช่น ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) เรียนรู้ทักษะใหม่ๆ http://blog.bru.ac.th/wp-content/uploads/bp-attachments/103441/เทคโนโลยีกับการเรียนรู้.pdf

1.2.2. เทคโนโลยีโลยีการศึกษา

1.2.2.1. ให้ความหมายของ เทคโนโลยีการศึกษาว่าหมายถึง การประยุกต์เอาเทคนิค วิธีการ แนวความคิด อุปกรณ์ และเครื่องมือใหม่ๆ มาใช้เพื่อช่วยแก้ปัญหาทางการศึกษาทั้งด้านการขยายงานและด้านการปรับปรุงคุณภาพของการเรียนการสอน ดังนั้น เทคโนโลยีจึงมีขอบข่ายถึงเรื่องสำคัญ ๆ 3 ประการคือ 1. การนำเอาเครื่องมือและอุปกรณ์ใหม่ ๆ มาใช้ในการเรียนการสอน ซึ่งได้แก่การนำเครื่องกลไกลทั้งหลายมาใช้เป็นประโยชน์ในการเรียนการสอน เช่น เครื่องฉายสไลด์ เครื่องฉายภาพยนตร์ เทปบันทึกเสียง วิทยุและโทรทัศน์ เครื่องช่วยสอน เป็นต้น 2. การผลิตวัสดุการสอนแนวใหม่ (Instructional Materials) ได้แก่ การนำวัสดุ การสอน เช่น แผนภูมิ รูปภาพ ภาพโฆษณา มาใช้ ตลอดจนการผลิตตำราแบบเรียน เอกสาร วัสดุ สิ่งพิมพ์อื่น ๆ และแบบเรียนสำเร็จรูป เป็นต้น 3. การใช้เทคนิคและวิธีการใหม่ (Innovation) นอกจากการใช้เครื่องมือและวัสดุ ดังกล่าวแล้ว เทคโนโลยีขอบข่ายครอบคลุมถึงการใช้เทคนิค และวิธีการใหม่ๆในการเรียนการสอนด้วยเช่นชุดการเรียนการสอนศูนย์การเรียนการเรียนการสอนแบบไม่แบ่งชั้นการสอนเป็นคณะการจัดตารางสอนแบบยืดหยุ่น เป็นต้น ดังนั้นเทคโนโลยีทางการศึกษาตามขอบข่ายดังกล่าวคือการเปลี่ยแปลงทางการศึกษาอันเนื่องมาจากการนำเอาโสตทัศนวัสดุอุปกรณ์และวิธีการใหม่มาใช้ในทางการเรียนการสอนนั่นเอง https://www.moe.go.th/เทคโนโลยีการศึกษา/

2. ประเภท

2.1. สื่อ

2.1.1. สื่อเป็นเกณฑ์ มี 5 ประเภท คือ 1. สื่อธรรมชาติ 2. สื่อมนุษย์ 3. สื่อสิ่งพิมพ์ 4. สื่ออิเล็กทรอนิกส์ 5. สื่อระคน http://courseware.npru.ac.th/admin/files/20191124103910_11609cd3b80f62a4218329bc25806470.pdf

2.1.1.1. 1. สื่อการสอนมีประโยชน์ต่อหน่วยการสอนและมีกิจกรรมในการแก้ปัญหาหรือให้ประสบการณ์เฉพาะหรือไม่ 2. เนื้อหาวิชาที่จะสื่อความหมายด้วยการใช้สื่อการสอนนี้เป็นประโยชน์และสำคัญแก่นักศึกษาในชุมนุมและสังคมหรือไม่ 3. สื่อการสอนมีความเหมาะสมกับจุดประสงค์ของการสอน หรือเป้าหมายของผู้เรียนหรือไม่ 4. สื่อการสอนช่วยให้มีการตรวจสอบระดับความแตกต่างของจุดประสงค์ของการสอน ในด้านเกี่ยวกับความรู้ ความเข้าใจ ทัศนคติและทักษะการฝึกปฏิบัติหรือไม่ 5. สื่อการสอนช่วยให้นักศึกษาได้คิดตอบสนอง อภิปรายและศึกษาค้นคว้าหรือไม่ 6. สื่อการสอนได้ช่วยแก้ปัญหาในการเรียนเนื้อหา และช่วยเสริมกิจกรรมนักศึกษาหรือไม่ 7. สื่อการสอนช่วยให้การเสนอแนวคิดมีความสัมพันธ์กันหรือไม่ 8. สื่อการสอนได้ช่วยในการเสนอเนื้อหาความรู้เกี่ยวกับระดับอุณหภูมิ น้ำหนัก ความลึก ระยะทาง การกระทำกลิ่น เสียง สี ความมีชีวิตและอารมณ์ได้ดีหรือไม่ 9. สื่อการสอนมีความแน่นอนและทันสมัยหรือไม่ 10. สื่อการสอนสอดคล้องกับจุดประสงค์ของการสอนที่พึงปรารถนาได้หรือไม่ 11. สื่อการสอนช่วยให้แสดงถึงรสนิยมยินดีหรือไม่ 12. สื่อการสอนสามารถใช้ในห้องเรียนธรรมดาได้หรือไม่ ความรู้ในเนื้อหาในสื่อการสอนมีตัวอย่างมากพอ https://www.st.ac.th/av/media_choose.htm

2.2. นวัตกรรม

2.2.1. นวัตกรรมทางด้านหลักสูตร นวัตกรรมการเรียนการสอน นวัตกรรมสื่อการสอน นวัตกรรมการประเมิน นวัตกรรมการบริการศึกษา https://eledu.ssru.ac.th/kannika_bh/pluginfile.php/37/course/section/14/บทที่%206%20

2.3. เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้

2.3.1. 1.ประสิทธิภาพการทำงาน efficiency 2.ประสิทธิผล productivity 3.ประหยัด economy

3. ประยุกต์

3.1. 1. พอดคาสต์ (Podcast) พอดคาสต์เป็นรูปแบบหนึ่งของการเรียนรู้ซึ่งทำผ่านการบันทึกเสียงสนทนาในหัวข้อเฉพาะ มักพบใน iTunes และ Spotify อยู่บ่อย ๆ หรือบนเว็ปไซต์ต่าง ๆ โดยจุดเด่นของพอดคาสต์คือทุกคนสามารถฟังได้ทุกที่ทุกเวลา ไม่ว่าจะขณะเดินทางไปทำงาน หรือแม้กระทั่งขณะทำงาน เนื้อหาของพอดคาสต์ถึงแม้จะมีความเฉพาะเจาะจงในหัวข้อ แต่มีความหลากหลาย และกว้างขวางให้เราเลือกฟังมาก ๆ คุณสามารถเรียนประวัติศาสตร์ ภาษา ธุรกิจ เทรนด์ต่าง