1. ความหมายของนวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา
1.1. นวัตกรรม คือความคิด การปฏิบัติ หรือสิ่งประดิษฐ์ใหม่ๆที่ยังไม่เคยมีมาก่อน และดีกว่า
1.2. นวัตกรรมเทคโนโลยีทางการศึกษา คือการนำแนวคิดและวิธีการใหม่ๆ มาปรับใช้ในระบบการศึกษาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ
1.3. 5 เทคโนโลยีที่ช่วยพัฒนาการศึกษา
1.3.1. การเรียนรู้แบบไฮบริด
1.3.2. เทคโนโลยีจากเกม
1.3.3. การเรียนรู้แบบไมโคร
1.3.4. การใช้แพลตฟอร์มการเรียนออนไลน์
1.3.5. การใช้เทคโนโลยีเสมือนจริง
1.4. นวัตกรรมทางการศึกษา 5 ประเภท
1.4.1. นวัตกรรมด้านหลักสูตร
1.4.1.1. นอกเหนือหลักสูตรการเรียนรู้
1.4.2. นวัตกรรมด้านการสอน
1.4.2.1. วิธีการ รูปแบบการสอนต่างๆ
1.4.3. นวัตกรรมด้านการประเมินผล
1.4.3.1. ใช้คลังข้อสอบต่างๆ
1.4.4. นวัตกรรมด้านสื่อการสอน
1.4.4.1. อีบุ๊ค วีดิทัศน์ บทเรียนสำเร็จรูป
1.4.5. นวัตกรรมด้านการบริหารจัดการการศึกษา
1.4.5.1. ฐานข้อมูลของสถานศึกษา
2. ความสำคัญของเทคโนโลยีกาศึกษา
2.1. เพิ่มประสิทธิภาพการเรียนรู้
2.2. ขยายโอกาสทางการศึกษา
2.3. ส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการ
2.4. ปรับปรุงประสิทธิภาพการบริหารจัดการ
2.5. สร้างความเสมอภาคทางการศึกษา
3. กระบวนการจัดการนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหาร
3.1. ขั้นตอน
3.1.1. การวิเคราะห์และการวางแผน
3.1.1.1. การประเมินความต้องการ
3.1.1.2. การตั้งเป้าหมาย
3.1.2. การพัฒนาและการออกแบบ
3.1.2.1. การออกแบบนวัตกรรม
3.1.2.2. การพัฒนาเทคโนโลยี
3.1.3. การทดลองและการประเมินผล
3.1.3.1. การทดลองใช้งาน
3.1.3.2. การประเมินผล
3.1.4. การนำไปใช้จริง
3.1.4.1. การปรับปรุงและติดตั้ง
3.1.4.2. การฝึกอบรม
3.1.5. การติดตามและการปรับปรุง
3.1.5.1. การติดตามผล
3.1.5.2. การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
3.2. การนำมาใช้ในสถานศึกษา
3.2.1. การเรียนรู้แบบผสมผสาน (Blended Learning)
3.2.2. ความจริงเสมือน (Virtual Reality) และความจริงเสริม (Augmented Reality)
3.2.3. การเรียนรู้โดยใช้เกม (Game-Based Learning)
3.3. ลักษณะผู้นำ
3.3.1. วิสัยทัศน์ที่ชัดเจน
3.3.2. ความรู้และความเข้าใจในเทคโนโลยี
3.3.3. การสร้างบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้
3.3.4. การส่งเสริมการเรียนรู้ร่วมกัน
3.3.5. การพัฒนาตนเองและบุคลากร
3.4. ข้อดีของการจัดการนวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา
3.4.1. เพิ่มประสิทธิภาพการเรียนการสอน
3.4.2. ส่งเสริมการเรียนรู้แบบส่วนบุคคล
3.4.3. การเข้าถึงข้อมูลและทรัพยากรการเรียนรู้
3.4.4. การพัฒนาทักษะที่จำเป็นในยุคดิจิทัล
3.4.5. การประหยัดเวลาและทรัพยากร
3.5. ข้อจำกัด ของการจัดการนวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา
3.5.1. ขาดวิสัยทัศน์และนโยบายที่ชัดเจน
3.5.2. ขาดงบประมาณและทรัพยากร
3.5.3. ขาดการฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากร
3.5.4. ระบบและอุปกรณ์ที่ไม่เพียงพอ
3.5.5. การเปลี่ยนแปลงนโยบายบ่อยครั้ง
3.5.6. ขาดการติดตามและประเมินผล
3.6. การบริหารงานสถานศึกษาใน 4 ฝ่าย
3.6.1. การบริหารงานวิชาการ
3.6.1.1. พัฒนาสื่อการเรียนการสอนดิจิทัลที่ทันสมัยและน่าสนใจ เช่น วิดีโอ แอนิเมชัน และเกม
3.6.2. การบริหารงานงบประมาณ
3.6.2.1. ใช้ระบบสารสนเทศในการวางแผน จัดสรร และติดตามการใช้งบประมาณ
3.6.2.2. ใช้ระบบจัดซื้อจัดจ้างอิเล็กทรอนิกส์ (e-GP) เพื่อความโปร่งใสและตรวจสอบได้
3.6.2.3. ใช้ระบบบัญชีคอมพิวเตอร์ในการบันทึกบัญชี จัดทำรายงาน และตรวจสอบการเงิน
3.6.3. การบริหารงานบุคคล
3.6.3.1. พัฒนาระบบการอบรมออนไลน์เพื่อพัฒนาศักยภาพครูและบุคลากร
3.6.3.2. ใช้แอปพลิเคชันสื่อสารในการประสานงานและแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างกัน
3.6.4. การบริหารงานทั่วไป
3.6.4.1. ใช้ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ในการรับ-ส่งหนังสือราชการ
3.6.4.2. พัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ (MIS) ในการรวบรวมข้อมูลและสนับสนุนการตัดสินใจ
3.6.4.3. ใช้แอปพลิเคชันบริหารจัดการงานต่างๆ เช่น การจองห้องประชุม การขออนุญาต การลา