1. ความสัมพันธ์ของการทำงานของระบบต่าง ๆ ในร่างกาย
1.1. ระบบประสาทที่ทำหน้าที่รับความรู้สึกตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมมเมื่อพบกับสิ่งเร้าที่ไม่คาดคิดก็จะทำงานสัมพันธ์กับระบบต่อมไร้ท่อ
1.2. ระบบประสาททำงานสัมพันธ์กับระบบสืบพันธุ์ในการรับรู้ความรู้สึกทางเพศ
1.3. ระบบต่อมไร้ท่อทำงานประสานสัมพันธ์กับระบบสืบพันธุ์ที่มีผลต่อการบีบตัวของมดลูกคลอดบุตร และะการหลั่งน้ำนม
2. การสร้างเสริมประสิทธิภาพของระบบต่อมไร้ท่อ
2.1. กินอาหารที่มีคุณค่าครบทั้ง 5 หมู่
2.2. หลรกเลี่ยงแอลกอฮอล์และผลิตภัณฑ์ที่เป็นยาสูบรวมทั้งเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน
2.3. กินอาหารทะเลหรือเกลือที่มีธาตุไอโอดีน
2.4. ดื่มน้ำาในปริมาณที่เพียงพอ วันละ 6-8 แก้ว
2.5. ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมออย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วัน วันละ 30 นาที
2.6. พักผ่อนให้เพียงพออย่างน้อยวันละ 8 ชม.
2.7. ตรวจสุขภาพอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
3. ต่อมหมวกไต (Adrenal gland)
3.1. มีรูปร่างแบบคล้ายหมวก ครอบอยู่บนไต
3.2. ทำหน้าที่ผลิตฮอร์โมนดุงนี้
3.2.1. Glucocorticoid Hormone
3.2.1.1. เกี่ยวกับการเผาผลาญคาร์โบไฮเดรต ไขมันและโปรตีน
3.2.2. Mineralocorticoid
3.2.2.1. ควบคุมจำนวนน้ำและNa (Electrolytes)
3.2.3. Sex Hormone
3.2.3.1. Androgen
3.2.3.2. Estrogen
3.2.3.3. Progesterone
4. ต่อมไทมัส (Thymus gland)
4.1. ตั้งอยู่บริเวณทรวงอก
4.2. ผลิต Hormone ออกมาควบคุมการทำงานของระบบภูมิต้านทานโรค (Antibody) ของร่างกาย
5. ต่อมไพเนียล (Pineal gland)
5.1. เป็นต่อมขนาดเล็ก
5.2. อยู่บริเวณกึ่งกลางของสมอง cerebrum
5.3. สร้าง Melatonin Hormone เพื่อยับยั้งการเจริญเติบโตของต่อมเพศในช่วงก่อนวัยรุ่น
6. ต่อมพาราไทรอยด์ (parathyroid gland)
6.1. อยู่ด้านล่างของต่อมไทรอยด์ (thyroid gland)
6.2. เป็นต่อมที่เล็กที่สุดมี 2 คู่
6.3. ผลิตฮอร์โมน Parathyroid
6.4. ควบคุมปริมาณ Ca และ Phosphate ใน Blood
7. ต่อมไทรอยด์ (Thyroid gland)
7.1. เป็นต่อมที่มีขนาดใหญ่กว่าทุกต่อมไร้ท่ออื่น ๆ มี 2 ข้าง
7.2. ควบคุมการเจริญเติมโตของร่างกายผ่านระบบเผาผลาญพลังงาน (Metabolism)
7.3. ทำหน้าที่ผลิตฮอร์โมน Thyroxin
8. ต่อมใต้สมอง (Pituitary gland)
8.1. Anterior Pituitary
8.1.1. ฮอร์โมนควบคุมการเจริญเติบโตของร่างกาย
8.1.2. ฮอร์โมนที่กระตุ้น thyroid
8.1.3. ฮอร์โมนที่กระตุ้น Adrenal gland ส่วนนอก
8.1.4. ฮอร์โมนที่กระตุ้นต่อมเพศ
8.2. Posterior pituitary
8.2.1. ผลิต oxytocin ที่มีผลต่อการหลั่งของน้ำนมและการบีบตัวของมดลูกขณะคลอดบุตร
8.2.2. ผลิต Vasopressin ควบคุมสมดุลน้ำของร่างกาย
9. ต่อมที่อยู่ในตับอ่อน (Islets of Laughterhans)
9.1. ทำหน้าที่ผลิต Insulin ควบคุมปริมาณน้ําตาลในร่างกาย
10. ต่อมเพศ
10.1. ต่อมของเพศหญิง คือ รังไข่
10.1.1. สร้างเซลล์ไข่เป็นเซลล์สืบพันธุ์เพศหญิง
10.1.2. สร้างฮอร์โมนเพศหญิง
10.1.2.1. คือ Estrogen and Progesterone
10.2. ต่อมเพศชาย คือ อัณฑะ
10.2.1. สร้างอสุจิเป็นเซลล์สืบพันธุ์เพศชาย
10.2.2. สร้างฮอร์โมนเพศชาย
10.2.2.1. ทำหน้าที่ควบพัฒนาการในความเป็นชาย เช่น หนวด เครา การหลั่งอสุจิ ขนหน้าแข้ง เสียงห้าว
10.2.2.2. คือ Testosterone