1. JANGSAGNTHONG, Kitdanai; SIKKHABUNDIT, Sowwanee; SITTISOMBOON, Monsit. รูป แบบ การ บริหาร การ ประกัน คุณภาพ การ ศึกษา ภายใน สถาน ศึกษา ระดับ การ ศึกษา ขั้น พื้นฐาน. Journal of Buddhist Anthropology, 2021, 6.5: 302-317.
2. ว่าที่ร.ต.รัชนันท์ อธิจันทรรัตน์
2.1. ชื่อเรื่อง
2.1.1. ทักษะของผู้บริหารกับการดำเนินการประกันคุณภาพภายในของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดเทศบาลในจังหวัดนครปฐม
2.2. ลิงก์
2.2.1. http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/3850/1/61252328.pdf
2.3. อ้างอิง APA
2.3.1. Homkaew, P., & Inrak, S. (2022). ทักษะ ของ ผู้ บริหาร กับ การ ดำเนิน การ ประกัน คุณภาพ ภายใน ของ ศูนย์ พัฒนา เด็ก เล็ก สังกัด เทศบาล ใน จังหวัด นครปฐม. Journal of Multidisciplinary in Humanities and Social Sciences, 5(4), 1437-1452.
2.4. วัตถุประสงค์การวิจัย
2.4.1. 1. เพื่อทราบทักษะของผู้บริหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดเทศบาลในจังหวัดนครปฐม 2. เพื่อทราบการดำเนินการประกันคุณภาพภายในของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดเทศบาล ในจังหวัดนครปฐม 3. เพื่อทราบความสัมพันธ์ระหว่างทักษะของผู้บริหารกับการดำเนินการประกันคุณภาพ ภายในของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดเทศบาลในจังหวัดนครปฐม
2.5. ปัญหาการวิจัย
2.5.1. ในจังหวัดนครปฐม ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม (พ.ศ.2554-2558) กรณีศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีผลการประเมินคุณภาพภายนอกในระดับ ปรับปรุงเร่งด่วน ซึ่งมีจำนวน 3 แห่ง พบว่าด้านที่ต้องปรับปรุงเร่งด่วนแก่ ประสิทธิภาพของการ บริหารจัดการสถานศึกษา ด้านประสิทธิผลของการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ และประสิทธิผลของระบบการประกันคุณภาพภายใน โดยมีข้อเสนอแนะคือ ผู้บริหารควรเข้ามาเป็น ผู้นำในการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กโดยดำเนินการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายใน ด้านการบริหารจัดการศึกษา ควรจัดโครงสร้างองค์กรและบริหารงานให้เป็น ระบบโดยใช้ระบบบริหารคุณภาพ PDCA จากผลการประเมินดังกล่าวจะเห็นได้ว่ามาตรฐานด้านบริหารจัดการศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีหลายตัวบ่งชี้ที่ต้องปรับปรุงเร่งด่วน ซึ่งเป็นตัวบ่งชี้ที่เกี่ยวกับการบริหารจัดการ การบริหาร สถานศึกษาให้ประสบความสำเร็จนั้น ปัจจัยสำคัญอย่างหนึ่งก็คือ ทักษะของผู้บริหาร ซึ่งการบริหาร ให้ประสบความสำเร็จนั้น จำเป็นจะต้องมีทักษะการบริหารหลายด้านเพื่อบริหารองค์กรให้บรรลุ เป้าหมาย ความสามารถในการบริหารมีความสำคัญต่อการประกันคุณภาพการศึกษาทั้งภายใน และภายนอก จากปัญหาดังกล่าวข้างต้น ผู้วิจัยในฐานะบุคลากรทางการศึกษาที่ทำงานอยู่ในกองการศึกษา สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จึงมีความสนใจที่จะศึกษาทักษะของผู้บริหารกับการดำเนินการ ประกันคุณภาพภายในของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดเทศบาลในจังหวัดนครปฐม ทั้งนี้ เพื่อที่จะได้นํา ผลการวิจัยที่ทราบไปพัฒนาปรับปรุงและเพื่อเป็นประโยชน์ต่อการดําเนินงานประกันคุณภาพภายใน ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อไป
2.6. ประชากร
2.6.1. ประชากรในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดเทศบาลในจังหวัดนครปฐม จำนวน 40 ศูนย์ จำแนกเป็นศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในอำเภอเมืองนครปฐม 18 ศูนย์ อำเภอดอนตูม 1 ศูนย์ อำเภอสามพราน 10 ศูนย์อำเภอนครชัยศรี 2 ศูนย์ อำเภอบางเลน 4 ศูนย์ อำเภอกำแพงแสน 1 ศูนย์ และอำเภอพุทธมณทล 4 ศูนย
2.7. กลุ่มตัวอย่าง
2.7.1. กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดเทศบาลในจังหวัดนครปฐม จำนวน 36 แห่ง ได้มาโดยผู้วิจัยกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยการเปิดตารางเครจซี่และมอร์แกน (Krejcie and Morgan) 70 จากนั้นผู้วิจัยใช้การสุ่มแบบแบ่งประเภท (stratified random sampling) โดยจำแนกตามอำเภอ
2.8. ตัวแปรที่ศึกษา
2.8.1. ตัวแปรต้น ทักษะของผู้บริหาร
2.8.1.1. ทักษะของผู้บริหาร(X tot) 1. ทักษะด้านเทคนิค (Technical Skills) (X1) 2. ทักษะด้านมนุษย์ (Human Skills) (X2) 3. ทักษะด้านมโนภาพ (Conceptual Skills) (X3)
2.8.2. ตัวแปนตาม การดำเนินการประกันคุณภาพภายใน
2.8.2.1. การดำเนินการประกันคุณภาพภายใน (Ytot) 1. กำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา (Y1) 2. จัดทำ/ปรับปรุง/เพิ่มเติม/เปลี่ยนแปลง แผนพัฒนาการศึกษาของสถานศึกษา (Y2) 3. ดำเนินการตามแผนปฏิบัติการประจำปีการศึกษา ของสถานศึกษา (Y3) 4. ประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายใน สถานศึกษา (Y4) 5. ติดตามผลการดำเนินการเพื่อพัฒนาสถานศึกษาให้ มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา ( Y5) 6. จัดทำรายงานผลการประเมินตนเอง ( Y6) 7. พัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพอย่างต่อเนื่อง ( Y7) 8. รับการประเมินภายนอกจากสำนักงานรับรอง มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา ( Y8) 9 .นำข้อเสนอแนะจากการวิเคราะห์รายงานผลการ ประเมินตนเองของหน่วยงานที่กำกับดูแลสถานศึกษา และข้อเสนอแนะจากการประเมินคุณภาพภายนอกมา กำหนดแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพ การศึกษา ( Y9)
2.9. กรอบแนวคิด
2.9.1. ทักษะของผู้บริหาร(X tot) 1. ทักษะด้านเทคนิค (Technical Skills) (X1) 2. ทักษะด้านมนุษย์ (Human Skills) (X2) 3. ทักษะด้านมโนภาพ (Conceptual Skills) (X3) การดำเนินการประกันคุณภาพภายใน (Ytot) 1. กำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา (Y1) 2. จัดทำ/ปรับปรุง/เพิ่มเติม/เปลี่ยนแปลง แผนพัฒนาการศึกษาของสถานศึกษา (Y2) 3. ดำเนินการตามแผนปฏิบัติการประจำปีการศึกษา ของสถานศึกษา (Y3) 4. ประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายใน สถานศึกษา (Y4) 5. ติดตามผลการดำเนินการเพื่อพัฒนาสถานศึกษาให้ มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา ( Y5) 6. จัดทำรายงานผลการประเมินตนเอง ( Y6) 7. พัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพอย่างต่อเนื่อง ( Y7) 8. รับการประเมินภายนอกจากสำนักงานรับรอง มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา ( Y8) 9 .นำข้อเสนอแนะจากการวิเคราะห์รายงานผลการ ประเมินตนเองของหน่วยงานที่กำกับดูแลสถานศึกษา และข้อเสนอแนะจากการประเมินคุณภาพภายนอกมา กำหนดแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพ การศึกษา ( Y9)
3. นางสาวเหมสุดา งามเปี่ยม
3.1. รูปแบบการบริหารการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
3.2. https://so04.tci-thaijo.org/index.php/JSBA/article/view/248855
3.3. กรอบแนวคิด
3.4. กลุ่มตัวอย่าง
3.5. ตัวแปรที่ศึกษา
4. DSpace at Nakhon Si Thammarat Rajabhat University: ปัญหาและแนวทางการดำเนินงานการประกันคุณภาพภายในตามเกณฑ์มาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานของสถานศึกษาขนาดเล็ก
5. นางสาวสมจิตร พันธ์ทอน
5.1. http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/4112/1/61252346.pdf
5.2. การดำเนินการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา สำนักงานเขตตลิ่งชัน สังกัดกรุงเทพมหานคร
5.3. วัตถุประสงค์การวิจัย
5.4. ปัญหาการวิจัย
5.5. ประชากร
5.6. กลุ่มตัวอย่าง
5.7. กรอบความคิด
5.8. ตัวแปรที่ศึกษา
6. นางสาวธมลวรรณ นวนกระโทก
6.1. ชื่อเรื่อง
6.1.1. การดำเนินการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษากลุ่มโรงเรียนนิคมพัฒนา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1
6.2. ลิงก์
6.2.1. https://buuir.buu.ac.th/xmlui/bitstream/handle/1234567890/7424/Fulltext.pdf?sequence=1&isAllowed=y
6.3. อ้างอิง APA
6.3.1. ศิรินทร คงเรืองศรี. (2022). การดำเนินการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษากลุ่มโรงเรียนนิคมพัฒนา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1.
6.4. วัตถุประสงค์การวิจัย
6.4.1. 1. เพื่อศึกษาการดำเนินการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษากลุ่มโรงเรียนนิคมพัฒนา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1 2. เพื่อเปรียบเทียบการดำเนินการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษากลุ่มโรงเรียนนิคมพัฒนา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1 จำแนกตามประสบการณ์ทำงานและขนาดของสถานศึกษา
6.5. ปัญหาการวิจัย
6.5.1. จากข้อมูลการรายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจำปีของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1 ในเรื่องการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ส่วนมากจะเป็นการรายงานโครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีซึ่งไม่ครอบคลุมตามระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาตามที่กฎกระทรวงกำหนดไว้ (สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1, 2555, หน้า 12-13) จากสภาพและปัญหาการดำเนินการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ผู้วิจัยจึงมีความสนใจที่จะศึกษาการดำเนินการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษากลุ่มโรงเรียนนิคมพัฒนา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1 เพื่อนำผลที่ได้ไปใช้เป็นข้อมูลในการวางแผนการดำเนินงานและพัฒนาระบบการดำเนินการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาให้มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น และเพื่อกระตุ้นให้โรงเรียนมีการดำเนินงานการประกันคุณภาพภายในอย่างเป็นระบบ ถูกต้องและพร้อมที่จะรับการประเมินภายนอกได้อย่างมั่นใจ
6.6. ประชากร
6.6.1. ครูกลุ่มโรงเรียนนิคมพัฒนา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1 ปีการศึกษา 2558 จำนวน 12 โรงเรียน มีครูจำนวน 320 คน
6.7. กลุ่มตัวอย่าง
6.7.1. ครูกลุ่มโรงเรียนนิคมพัฒนา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1 จำนวน 175 คน ตามตารางกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างของ Krejcie and Morgan (1970, p. 608) ซึ่งได้จากการสุ่มแบบแบ่งชั้น (Stratified random sampling)
6.8. ตัวแปรที่ศึกษา
6.8.1. ตัวแปรต้น
6.8.1.1. 1. ประสบการณ์ทำงาน 1.1 น้อยกว่า 10 ปี 1.2 ตั้งแต่ 10 ปีขึ้นไป 2. ขนาดของสถานศึกษา 2.1 กลาง 2.2 ใหญ่
6.8.2. ตัวแปรตาม
6.8.2.1. การดำเนินการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษากลุ่มโรงเรียนนิคมพัฒนา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1 ตามระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของกฎกระทรวงว่าด้วยระบบหลักเกณฑ์และวิธีการประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2553 มี 8 ด้าน ประกอบด้วย 1. ด้านการกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 2. ด้านการจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษา 3. ด้านการจัดระบบบริหารและสารสนเทศ 4. ด้านการดำเนินงานตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษา 5. ด้านการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา 6. ด้านการประเมินคุณภาพภายใน 7. ด้านการจัดทำรายงานประจำปี 8. ด้านการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
6.9. กรอบแนวคิด
7. นายวิชญ์พล ปัญญา
7.1. ชื่อเรื่อง
7.1.1. การดำเนินงานการประกันคุณภาพภายในเพื่อรองรับการประเมินภายนอก รอบที่สามของโรงเรียนไทยรัฐวิทยา 33
7.2. ลิงก์
7.2.1. chrome-extension://efaidnbmnnnibpcajpcglclefindmkaj/ http://cmuir.cmu.ac.th/bitstream/6653943832/12986/2/edadm20554pk_abs.pdf
7.3. อ้างอิง APA
7.3.1. ปกรณ์ คง แก้ว. การ ดำเนิน งาน การ ประกัน คุณภาพ ภายใน เพื่อ รองรับ การ ประเมิน ภายนอก รอบ ที่ สาม ของ โรงเรียน ไทยรัฐ วิทยา 33 (บ้าน ทุ่ง พร้าว) อำเภอ แม่สะเรียง จังหวัด แม่ฮ่องสอน= Performance of internal quality assurance as a basis for the third external assessment of Thairathvittaya 33 School (Ban Thungphrao), Mae Sariang District, Mae Hong Son Province.
7.4. วัตถุประสงค์การวิจัย
7.5. ปัญหาการวิจัย
7.6. ประชากร
7.7. กลุ่มตัวอย่าง
7.8. ตัวแปรที่ศึกษา
7.9. กรอบแนวคิด
8. รายการสืบค้น วิจัย 5 บท
8.1. ชื่อเรื่อง
8.2. ลิงก์
8.3. อ้างอิง APA
8.4. วัตถุประสงค์การวิจัย
8.5. ปัญหาการวิจัย
8.6. ประชากร
8.7. กลุ่มตัวอย่าง
8.8. ตัวแปรที่ศึกษา
8.9. กรอบแนวคิด
9. ศิริรัตน์ สุวรรณวัฒกี
9.1. รายการสืบค้น วิจัย 5 บท
9.1.1. ชื่อเรื่อง
9.1.1.1. การศึกษาแนวทางการนำมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน ของสถานศึกษา พ.ศ. 2561 สู่การปฏิบัติ
9.1.2. ลิงก์
9.1.2.1. https://so02.tci-thaijo.org/index.php/JRKSA/article/view/266945
9.1.3. อ้างอิงAPA
9.1.3.1. กระทรวงศึกษาธิการ. (2553). กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2553.ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 127 ตอนที่ 23ก วันที่ 2 เมษายน. หน้า 22-23. กระทรวงศึกษาธิการ.(2561). กฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2561.ประกาศวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2561 ม.ป.ป. (เอกสารอัดสําเนา). กันยารัตน์กลมกล่อม. (2560). ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมองค์การกับผลการประกันคุณภาพภายในด้านคุณภาพผู้เรียนของสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1. วิทยายนิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.นราจันทร์ กิตติคุณ.(2553).สภาพและปัญหาการบริหารงานประกันคุณภาพภายในของโรงเรียนเอกชนในกรุงเทพมหานคร.วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารการศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. นริศรา ใบงิ้ว. (2561). แนวทางการบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็กตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานของศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาเวียงกาหลงวนาเทวี อําเภอเวียงป่าเป้า จังหวัดเชียงราย.การศึกษาอิสระครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย.ปรมาภรณ์ อ่อนนุ่ม.(2560).ปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียนของโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 2.วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์.ราชกิจจานุเบกษา. (2545). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ที่แก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545.ฉบับกฤษฎีกา, 116(ตอนที่ 74 ก).
9.1.4. วัตถุประสงค์การวิจัย
9.1.4.1. เพื่อศึกษาแนวทางการนำมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา พ.ศ. 2561 สู่การปฏิบัติ
9.1.5. ปัญหาการวิจัย
9.1.5.1. สํานักงานงานเลขาธิการสภาการศึกษา ได้มีการปรับมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ.2561 เพื่อให้สอดคล้องรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2560 พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 (และที่แก้ไขเพิ่มเติมทุกฉบับ)แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 -2564) ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2559 -2569 และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง โดยมุ่งเน้นในการพัฒนาศักยภาพคน จะต้องธํารงความเป็นไทยและแข่งขันได้ในเวทีโลก โดยพัฒนาบุคคลให้มีลักษณะขั้นต่ํา 3 ประการ คือ ผู้เรียนรู้ ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม และพลเมืองที่เข้มแข็ง ด้วยเหตุนี้ กระทรวงศึกษาธิการ โดยสํานักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในฐานะหน่วยงานต้นสังกัดของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่มีบทบาทหน้าที่ในการกําหนดมาตรฐานการศึกษา จึงมีความจําเป็นต้องพัฒนามาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อให้สอดคล้อง เหมาะสมกับสภาวการณ์ที่เปลี่ยนแปลง ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ การปฏิรูปการศึกษา และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งให้มีความสอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการของสถานศึกษา ตลอดจนดําเนินงานขับเคลื่อนการนํามาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานลงสู่การปฏิบัติให้บรรลุผลตามเป้าหมาย ด้วยวิธีการที่หลากหลาย
9.1.6. ประชากร
9.1.6.1. ครู ผู้บริหารการศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษาจากหน่วยงานต้นสังกัด และผู้รับผิดชอบงานประกันคุณภาพการศึกษาระดับเขตพื้นที่การศึกษา
9.1.7. กลุ่มตัวอย่าง
9.1.7.1. ตัวแทนครู ผู้บริหารการศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษาจากหน่วยงานต้นสังกัดและผู้รับผิดชอบงานประกันคุณภาพการศึกษาระดับเขตพื้นที่การศึกษา
9.1.8. ตัวแปรที่ศึกษา
9.1.8.1. ตัวแปรต้น แนวทางนํามาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตัวแปรตาม การประกันคุณภาพภายในมีจํานวน 8 แนวทาง
9.1.9. กรอบแนวคิด
9.1.9.1. กรอบแนวคิดในการวิจัยการวิจัยครั้งนี้ใช้ผลจากการศึกษางานวิจัยของวิษณุ ทรัพย์สมบัติและสุวิมลว่องวาณิช(2558) ที่ได้ดําเนินการสังเคราะห์แนวทางการขับเคลื่อนการประกันคุณภาพการศึกษาของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานช่วงพ.ศ.2550-2555พบว่า มีด้วยกันจํานวน4 แนวทาง คือแนวทางที่ 1 การจัดทําเอกสาร คู่มือ ตําราวิชาการ แนวทางที่ 2 การจัดอบรม ประชุมเชิงปฏิบัติการ และชี้แจงทําความเข้าใจกับบุคลากรที่เกี่ยวข้องทุกระดับ แนวทางที่ 3 การสนับสนุนงบประมาณ และสื่อวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ และแนวทางที่ 4 การกําหนดมาตรการแทรกแซงและการช่วยเหลือสถานศึกษาและเขตพื้นที่การศึกษาสําหรับการวิจัยครั้งนี้ มีการดําเนินการศึกษาแนวทางการขับเคลื่อนมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา พ.ศ. 2561 สู่การปฏิบัติ ของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานเพิ่มขึ้นอีกจํานวน 4 แนวทาง รวมจํานวน 8 แนวทาง ซึ่งเป็นผลที่ได้จากการศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลจากเอกสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับโครงการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของสํานักทดสอบทางการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน รวมทั้งมีการเก็บรวบรวมข้อมูลจากการดําเนินงานกิจกรรมและโครงการต่าง ๆ ที่ได้จัดขึ้นในช่วงหลังจากมีการประกาศใช้มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา พ.ศ. 2561 ประกอบด้วย 1)การสื่อสารและสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา พ.ศ. 2561 และการประกันคุณภาพการศึกษาแก่ผู้เกี่ยวข้อง2)การจัดทําคู่มือดําเนินงานการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา3)การพัฒนาเครือข่ายนวัตกรรมคุณภาพสถานศึกษา 4) การพัฒนาระบบการรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาแบบอิเล็กทรอนิกส์(e-SAR)5) การจัดสรรงบประมาณสนับสนุนการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา 6) การยกย่องเชิดชูเกียรติสถานศึกษาเพื่อรับรางวัลระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา (IQA AWARD)7) การถอดประสบการณ์ของสถานศึกษาที่ได้รับรางวัลระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา (IQA AWARD)และ 8) การบูรณาการความร่วมมือเพื่อส่งเสริมการประกันคุณภาพระดับห้องเรียนที่ใช้สถานศึกษาเป็นฐาน