กลุ่มที่ 2 การประกันคุณภาพภายนอก ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
กลุ่มที่ 2 การประกันคุณภาพภายนอก ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน by Mind Map: กลุ่มที่ 2  การประกันคุณภาพภายนอก  ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

1. รายการสืบค้น วิจัย 5 บท

1.1. ชื่อเรื่อง

1.2. ลิงก์

1.3. อ้างอิง APA

1.4. วัตถุประสงค์การวิจัย

1.5. ปัญหาการวิจัย

1.6. ประชากร

1.7. กลุ่มตัวอย่าง

1.8. ตัวแปรที่ศึกษา

1.9. กรอบแนวคิด

2. นางไกรสร โอษคลัง

2.1. รายการสืบค้น วิจัย 5 บท

2.1.1. การนำผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบที่สองมาใช้พัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 1

2.1.2. https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4218

2.1.3. จันทร์ สุดา บุตร ชาติ, ปรีชา วิหค โต - วารสาร ศึกษา ศาสตร์ มหาวิทยาลัย …, 2015 .การ พัฒนา รูป แบบ การ ประกัน คุณภาพ ภายใน สถาน ศึกษา สังกัด สำนักงาน เขต พื้นที่ การ ศึกษา ประถม ศึกษา สกลนคร เขต 1

2.1.4. วัตถุประสงค์การวิจัย

2.1.4.1. 1. เพื่อศึกษาสภาพการนำผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบที่สองมาใช้พัฒนา คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต1 2. เพื่อศึกษาปัญหาการนำผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบที่สองมาใช้พัฒนา คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต1 3. เพื่อเสนอแนวทางการนำผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบที่สองมาใช้พัฒนา คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต1

2.1.5. โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 1 รับการประเมินภายนอกจากสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน คุณภาพการศึกษารอบที่สองทุกโรงเรียนเรียบร้อยแล้ว ผลการประเมินภายนอกรอบที่สอง มีโรงเรียนได้รับการรับรองมาตรฐาน จำนวน 157 โรงเรียน และมีโรงเรียนที่ไม่ผ่านการรับรองมาตรฐานจำนวน 9 โรงเรียน ในจำนวนนี้มีโรงเรียนที่มีผลการประเมินภายนอกรอบแรก อยู่ใน ระดับ ดี จำนวน 6 โรงเรียน (สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสกลนคร เขต 1 2551: 1) ซึ่งในการประเมินแต่ละครั้งผู้ประเมินจะให้ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ดังนั้น จะเห็นได้วาโรงเรียนบางส ่ ่วนที่ได้รับการประเมินในรอบแรกไม่ได้มีการนำผลการประเมินภายนอกมาใช้พัฒนาปรับปรุงคุณภาพการศึกษาตามที่ผู้ประเมินให้คำแนะนำเท่าที่ควร

2.1.6. ผู้รับผิดชอบงานประกันคุณภาพ การศึกษาของสถานศึกษาของโรงเรียนแต่ละโรงเรียน ในสังกดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนครเขต 1 รวมจำนวน 176 คน

2.1.7. ผู้รับผิดชอบงานประกันคุณภาพ การศึกษาของสถานศึกษาของโรงเรียนแต่ละโรงเรียน ในสังกดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนครเขต 1 รวมจำนวน 176 คน

2.1.8. 1 สภาพของสถานศึกษา ได้แก่ ขนาดของโรงเรียน เขตอำเภอที่ตั้งของ โรงเรียน จำนวนครูในโรงเรียน 2. สภาพและปัญหาในการนำผลการประเมินภายนอกรองที่สองไปพัฒนาตามกระบวนการประกนคุณภาพการศึกษาตามหลักบริหาร ของกระทรวงศึกษาธิการ ประกอบด้วยั 1.การควบคุมคุณภาพการศึกษา 2.การตรวจสอบคุณภาพการศึกษา 3.การประเมินคุณภาพการศึกษา 3. แนวทางในการนำผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบที่สองมาใช้พัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา สังกดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 1 ประกอบด้วย 1) วางแผนการปฏิบัติงาน (P) 2) การดำเนินการตามแผน (D) 3) ตรวจสอบ ประเมินผล(C)4) นำผลการประเมินมาปรับปรุง (A)

2.1.9. มุ่งเน้นการศึกษาสภาพการนำผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบที่สองมาใช้พัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนครเขต 1 โดยใช้กรอบแนวคิดเกี่ยวกับกระบวนการประกันคุณภาพการศึกษาและกระบวนการพัฒนาคุณภาพของกระทรวงศึกษาธิการ (คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน2549:4-6)

3. นางสุดารัตน์ ลิขิตนภาเวทย์

4. นายสมควร พ่อวงษ์

5. นายพณิชพงษ์ สกุลกำจรกิจ

5.1. ชื่อเรื่อง

5.1.1. เจดคติต่อการประะมินคุณภาพภายนอกของผู้บริหารและครูผู้สอนในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1

5.2. ลิงก์

5.2.1. http://dspace.nstru.ac.th:8080/dspace/bitstream/123456789/2080/12/Fulltext.pdf

5.3. อ้างอิง APA

5.3.1. ศุภรัตน์ บรรดาศักดิื. (2555). เจดคติต่อการประะมินคุณภาพภายนอกของผู้บริหารและครูผู้สอนในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1. (วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต,มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช)

5.4. วัตถุประสงค์การวิจัย

5.4.1. 1. เพื่อศึกษาเจตติต่อการประเมินคุณภาพภายนอกของผู้บริหารและครูผู้สอนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 2. เพื่อเปรียบเทียบเจตคติต่อการประเมินคุณภาพภายนอกของผู้บริหารและครูผู้สอนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 จำเเนกตาม ตำแหน่ง ประสบการณ์ในการทำงาน และขนาดของสถานศึกษา

5.5. ปัญหาการวิจัย

5.5.1. สมมติฐานของการวิจัย 1. เจตคติต่อการประเมินคุณภาพภายนอกของผู้บริหารและครูผู้สอนในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราชเขต 1 แตกต่างกัน 2. เจตคติต่อการประเมินคุณภาพภายนอกของผู้บริหารและครูผู้สอนในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 ที่มีประสบการณ์ต่างกันมีความแตกต่างกัน 3. เจตติต่อการประเมินคุณภาพภารนอกของผู้บริหารและครูผู้สอนในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต I ที่มีขนาดสถานศึกษาต่างกันมีความแตกต่างกัน

5.6. ประชากร

5.6.1. ผู้บริหารและครูผู้สอนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 จำนวน 128 โรงเรียน ประกอบด้วยผู้บริหาร จำนวน 128 คน ครูผู้สอน จำนวน 1,429 คน รวมจำนวนทั้งสิ้น 1,657 คน

5.7. กลุ่มตัวอย่าง

5.7.1. ผู้บริหารและครูผู้สอนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรธรรมราช ฯ ประกอบด้วย ผู้บวิหาร จำนวน 92 คน ครูผู้สอน จำนวน 302 คน รวมจำนวนทั้งสิ้น 394 คน

5.8. ตัวแปรที่ศึกษา

5.8.1. ตัวแปรอิสระ 1. ตำแหน่ง 2. ประสบการณ์ในการทำงาน 3. ขนาดของสถานศึกษา

5.8.1.1. ตัวแปรตาม เจตคติต่อการประเมินภายนอกรอบสามของผู้บริหารและครู 1) ด้านหลักการและวัตถุประสงค์ของการประเมินภายนอก 2) ด้านมาตรฐานและเกณฑ์การประเมินคุณภาพภายนอก 3) ด้านคณะผู้ประเมินคุณภาพภายนอก 4) ด้านกระบวนการประเมินคุณภาพภายนอก 5) ด้านการใช้ประโยชน์จากผลการประเมินคุณภาพภายนอก

5.9. กรอบแนวคิด

5.9.1. การวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัธได้ศึกษาเจตตติต่อการประเมินคุณภายนอกของผู้บริหารและครูผู้สอนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 ใน 5 ด้าน ตามกรอบแนวคิดและวิธีการประเมินคุณภาพภายนอก สำนักงานรับรองมาตรฐานและ ประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) ตัวแปรอิสระ 1. ตำแหน่ง 2. ประสบการณ์ในการทำงาน 3. ขนาดของสถานศึกษา ตัวแปรตาม เจตคติต่อการประเมินภายนอกรอบสามของผู้บริหารและครู 1) ด้านหลักการและวัตถุประสงค์ของการประเมินภายนอก 2) ด้านมาตรฐานและเกณฑ์การประเมินคุณภาพภายนอก 3) ด้านคณะผู้ประเมินคุณภาพภายนอก 4) ด้านกระบวนการประเมินคุณภาพภายนอก 5) ด้านการใช้ประโยชน์จากผลการประเมินคุณภาพภายนอก

6. นางสาวกัญจน์ธนธัญ วงศ์สีชิน

6.1. ชื่อเรื่อง

6.1.1. ปัจจัยที่ส่งผลต่อการนำผลประเมินคุณภาพภายนอกไปใช้พัฒนาคุณภาพ ภายในสถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร

6.2. ลิงค์งาน

6.2.1. https://www.stou.ac.th/website/%E0%B8%A8%E0%B8%B6%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%B2%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B9%8C/21.%E0%B8%93%E0%B8%B1%E0%B8%90%E0%B8%98%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B9%8C%20%E0%B8%9A%E0%B8%B8%E0%B8%93%E0%B8%A2%E0%B8%97%E0%B8%A7%E0%B8%B5%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%92%E0%B8%99%E0%B9%8C.pdf

6.3. อ้างอิง APA

6.3.1. ณัฐธยาน์ บุณยทวีพัฒน์,ชูชาติ พ่วงสมจิตร์,รัตนา. (2560). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการนำผลประเมินคุณภาพภายนอกไปใช้พัฒนาคุณภาพภายในสถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร. วารสารศึกษาศาสตร์ มสธ., 10(2), 304-315.

6.4. วัตถุประสงค์

6.4.1. 1.เพื่อศึกษาระดับการใช้ผลประเมินภายนอกเพื่อนำมาใช้พัฒนาคุณภาพภายในสถานศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานคร

6.4.2. 2.เพื่อศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการนำผลการประเมินคุณภาพภายนอกไปใช้พัฒนาคุณภาพภายในสถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร

6.4.3. 3.เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของระดับการใช้ผลประเมินภายนอกเพื่อนำมาใช้พัฒนาคุณภาพภายในสถานศึกษา กับปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการนำผลการประเมินคุณภาพภายนอกไปใช้พัฒนาคุณภาพภายในสถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร

6.4.4. 4.เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการนำผลประเมินคุณภาพภายนอกไปใช้พัฒนาคุณภาพภายในสถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร

6.5. ปัญหาการวิจัย

6.5.1. 1. คุณภาพการศึกษาของไทยยังอยู่ในระดับต่ำเมื่อเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านแม้จะมีการปฏิรูปการศึกษามาหลายครั้งแล้ว 2. แม้จะมีระบบประกันคุณภาพการศึกษาแต่ผลการประเมินคุณภาพภายนอกโดยสมศ.ยังไม่สะท้อนคุณภาพการจัดการศึกษาที่แท้จริง 3. สถานศึกษาส่วนใหญ่ได้รับการรับรองมาตรฐานแต่ไม่ได้นำผลการประเมินไปใช้พัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างจริงจังและต่อเนื่อง 4. ยังไม่ทราบปัจจัยที่ส่งผลต่อการนำผลการประเมินคุณภาพภายนอกไปใช้พัฒนาคุณภาพภายในสถานศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ

6.6. ประชากร

6.6.1. ผู้อำนวยการและครูของสถานศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 205 โรงเรียน

6.7. กลุ่มตัวอย่าง

6.7.1. กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางกำหนดขนาดของเครจซี่และมอร์แกน (Krejcie and Morgan) จำนวน 410 คน

6.7.1.1. ผู้อำนวยการสถานศึกษา 205 คน

6.7.1.2. ครูผู้รับผิดชอบงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษา 205 คน

6.8. ตัวแปร

6.8.1. 1)ระดับการใช้ผลประเมินภายนอกเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยใช้กรอบแนวคิดในการวัดระดับของการใช้ผลประเมินภายนอก

6.8.2. 2)ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการนำผลประเมินคุณภาพภายนอกไปใช้

6.9. กรอบแนวคิด

6.9.1. ตัวแปรต้น

6.9.1.1. ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการนำผลประเมินคุณภาพภายนอกไปใช้ • กระบวนการประเมิน • ผลการประเมิน • คุณลักษณะของผู้ประเมิน • สภาพแวดล้อมขององค์การ • คุณลักษณะของผู้เกี่ยวข้อง

6.9.2. ตัวแปรตาม

6.9.2.1. ระดับการใช้ผลประเมินภายนอกเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา • การใช้ในเชิงตรวจสอบยืนยัน • การใช้ในเชิงสัญลักษณ์ • การใช้ในเชิงปฏิบัติ

7. นางสาวสุกัญญา จงจิตต์สุข

8. https://scholar.google.com/

9. นางพิมพ์ศิยา วัชรสุทธิพงศ์

9.1. ชื่อเรื่อง

9.1.1. การประเมินความเหลื่อมล้ำด้านคณภาพสถานศึกษาของประเทศไทย จากผลการประเมินคณภาพภายนอกสถานศึกษา ระดับการศึกาษาขั้นพื้นฐาน

9.2. ลิงก์

9.2.1. https://so04.tci-thaijo.org/index.php/ksk/article/download/126096/95378

9.3. อ้างอิง APA

9.3.1. ธนัญชัย ไชยหง ษ์, & 2524-. การ ประเมิน ความ เหลื่อม ล้ำ ด้าน คุณภาพ สถาน ศึกษา ของ ประเทศไทย จาก ผล การ ประเมิน คุณภาพ ภายนอก สถาน ศึกษา ระดับ การ ศึกษา ขั้น พื้นฐาน (Doctoral dissertation, มหาวิทยาลัย สุโขทัย ธรรมา ธิ ราช).

9.3.1.1. ธนัญชัย ไชยหง ษ์, & 2524-. การ ประเมิน ความ เหลื่อม ล้ำ ด้าน คุณภาพ สถาน ศึกษา ของ ประเทศไทย จาก ผล การ ประเมิน คุณภาพ ภายนอก สถาน ศึกษา ระดับ การ ศึกษา ขั้น พื้นฐาน (Doctoral dissertation, มหาวิทยาลัย สุโขทัย ธรรมา ธิ ราช).

9.4. วัตถุประสงค์การวิจัย

9.4.1. 3.1 เพื่อประเมินความเหลื่อมล าด้านคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาจากผลการ ประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษาระดับการศึกษาขันพืนฐานตามขนาด สังกด และที่ตังของ สถานศึกษา 3.2 เพื่อศึกษาผลของการด าเนินงานตามกรอบแนวทางการปฏิรูปการศึกษาใน ทศวรรษที่สองตอความเหลื่อมล าด้านคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาระดับการศึกษาขันพืนฐาน 3.3 เพื่อศึกษาแนวทางการแกปัญหาความเหลื่อมล าด้านคุณภาพการศึกษาของ สถานศึกษาระดับการศึกษาขันพืนฐาน 5 4. กรอบแนวคิดการวิจัย ในการวิจัยครังนี ผู ้วิจัยต้องการวัดความเหลื่อมล าด้านคุณภาพการศึกษาขอ

9.5. ปัญหาการวิจัย

9.6. ประชากร

9.6.1. ประชากรที่ใช้ในการวิจัยนี คือ สถานศึกษาระดับการศึกษาขันพืนฐานที่ผานการ ประเมินคุณภาพภายนอกครบทัง 3 รอบการประเมินแล้ว จากส านักงานรับรองมาตรฐานและ ประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ.โดยอ้างอิงข้อมูลของสถานศึกษาที่ได้รับ การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2554 จ านวน 8,193 แหง

9.7. กลุ่มตัวอย่าง

9.7.1. กล่มตัวอย่าง 1.2.1 ส าหรับวัตถประสงค์การวิจัยข้อที่ 1 (เพื่อประเมินความเหลื่อมล าด้าน คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาจากผลการประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษาระดับการศึกษา ขันพืนฐาน ตามขนาด สังกด และที่ตังของสถานศึกษา) ศึกษาข้อมูลจากประชากรสถานศึกษาระดับ การศึกษาขันพืนฐานที่ได้รับการประเมินคุณภาพภายนอก ครบทัง 3 รอบการประเมินแล้ว จ านวน 8,193 แหง 1.2.2 ส าหรับวัตถประสงค์การวิจัยข้อที่ 2 (เพื่อศึกษาผลของการด าเนินงานตาม กรอบแนวทางการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สองตอความเหลื่อมล าด้านคุณภาพการศึกษาของ สถานศึกษาระดับการศึกษาขันพืนฐาน) ศึกษาข้อมูลจากสถานศึกษาระดับการศึกษาขันพืนฐาน โดย ขนาดของกลุมตัวอยางในการวิจัยได้จากค านวณโดยใช้สูตรของ Yamane (Taro Yamane, 1967)โดยกาหนดความคลาดเคลื่อนของการสุมตัวอยางที่ยอมรับได้ไว้ที่ 5% (0.05) ที่ระดับ ความเชื่อมัน 95% ดังนันขนาดของกลุมตัวอยางที่จะได้จากการค านวณโดยใช้สูตรของ Yamane จะเทากบ 381 แหง

9.8. ตัวแปรที่ศึกษา

9.8.1. 2.1 ความเหลื่อมล้ำทางด้านคุณภาพการศึกษา เมื่อจำแนกตามขนาด สังกัด และที่ตั้ง ของสถานศึกษา มีมากน้อยเพียงใด 2.2 การดำเนินงานตามกรอบแนวทางการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง(พ.ศ. 2552-2561)ของสถานศึกษาระดับการศึกษาขันพืนฐานมีผลตอความเหลื่อมล้ำด้านคุณภาพ การศึกษาหรือไม่ 2.3 วิธีการหรือแนวทางใดบ้างที่จะสามารถแกไขปัญหาความเหลื่อมล้ำด้านคุณภาพ การศึกษาของสถานศึกษาระดับการศึกษาขันพืนฐาน

9.9. กรอบแนวคิด

9.9.1. ในการวิจัยครั้งนี ผู้วิจัยต้องการวัดความเหลื่อมล้ำด้านคุณภาพการศึกษาของ สถานศึกษาระดับการศึกษาขันพืนฐานที่มีขนาด สังกดและที่ตังตางกน โดยใช้ข้อมูลจากผลการ ประเมินคุณภาพภายนอกทัง 3 รอบการประเมิน และผู ้วิจัยต้องการศึกษาผลของการดำเนินงานตาม กรอบแนวทางการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ. 2552-2561) ทัง 4 ด้าน ได้แก่ ด้าน พัฒนาคุณภาพคนไทยยุคใหม ด้านพัฒนาคุณภาพครูยุคใหม ด้านพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาและ แหลงเรียนรู ้ยุคใหม และด้านพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการใหม่ว่ามีผลตอความเหลื่อมล้ำด้าน คุณภาพสถานศึกษาหรือไม่

10. นายปฐมพร ลิขิตนภาเวทย์

10.1. การศึกษาความพร้อมในการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรกตามมาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร

10.2. https://cms.dru.ac.th/jspui/handle/123456789/1102

10.3. วรพล, & จำปาภา. (2003). การศึกษา ความพร้อม ในการประเมินคุณภาพ ภายนอกรอบแรก ตามมาตรฐานการ ศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานของ โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญ ศึกษากรุงเทพมหานคร (Doctoral dissertation, Dhonburi Rajabhat University. Office of Academic Resources And Information Technology.).

10.3.1. วรพล จำปาภา : การศึกษาความพร้อมในการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรกตามมาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี

10.4. วัตถุประสงค์

10.4.1. 1. เพื่อศึกษาความพร้อมในการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรก ตามมาตรฐานการศึกษา 2. เพื่อเปรียบเทียบความพร้อมในการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรก ตามมาตรฐานการศึกษา

10.5. ปัญหาของการวิจัย

10.5.1. การรับรู้ของผู้บริหาร และกรรมการประกันคุณภาพภายในโรงเรียน มีความแตกต่างกันในหลายปัจจัย ซึ่งส่งผลต่อการประเมินภายนอก

10.6. ประชากร

10.6.1. กลุ่มผู้บริหารโรงเรียน 115 โรง จำนวน 115 คน

10.6.1.1. กลุ่มครู อาจารย์ที่ทำหน้าที่คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน 115 โรง จำนวน 1380 คน

10.6.1.1.1. รวม 1495 คน

10.7. กลุ่มตัวอย่าง

10.7.1. กลุ่มผู้บริหารโรงเรียน 115 โรง จำนวน 115 คน (เนื่องจากจำนวนไม่มากนักจึงใช้ประชากรทั้งหมด)

10.7.1.1. กลุ่มครู อาจารย์ที่ทำหน้าที่คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน 115 โรง จำนวน 419 คน (กำหนดกลุ่มตัวอย่างร้อยละ 30)

10.7.1.1.1. รวม 534 คน

10.8. ตัวแปรที่ปรึกษา

10.8.1. ตัวแปรต้น : การรับรู้ของผู้บริหาร และกรรมการประกันคุณภาพภายในโรงเรียน

10.8.1.1. ตัวแปรตาม : ความพร้อมในการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรก

10.9. กรอบแนวคิด

10.9.1. ตัวแปรต้น - การรับรู้ของผู้บริหาร และกรรมการประกันคุณภาพภายในโรงเรียน - ตำแหน่งหน้าที่ - วุฒิการศึกษา - ประสบการณ์ในการทำงาน - ขนาดโรงเรียน

10.9.1.1. ตัวแปรตาม - ความพร้อมในการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรก - มาตรฐานด้านผู้เรียน - มาตรฐานด้านกระบวนการ - มาตรฐานด้านปัจจัย

11. นายนัฐพล ก๋าแก้ว

11.1. แนวทางการพัฒนาการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาของ โรงเรียนมัธยมวัดหนองแขม

11.2. http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/3305/1/61252333.pdf

11.3. วัตถุประสงค์การวิจัย1. เพื่อทราบผลการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนมัธยมวัดหนองแขม 2. เพื่อทราบแนวทางการพัฒนาการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน มัธยมวัดหนองแขม

11.4. ปัญหาของการวิจัย โรงเรียนมัธยมวัดหนองแขมได้รับการประเมินคุณภาพการศึกษาภายนอกจากสำนักงาน รับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. ผลจากการประเมิน คุณภาพภายนอกรอบสี่ (พ.ศ.2559 – 2563) ทำให้ทราบถึงผลการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน ของโรงเรียนมัธยมวัดหนองแขม สังกัดสำนักเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 ว่ามีข้อเสนอแนะ เพื่อการพัฒนาสู่นวัตกรรมหรือแบบอย่างที่ดีของด้านมาตรฐานที่1 ด้านคุณภาพผู้เรียน และด้าน มาตรฐานด้านที่ 3 ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

11.5. ประชากร ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ครูในโรงเรียนมัธยมวัดหนองแขม สังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 จำนวน 179 คน (ไม่รวมผู้วิจัย)

11.6. กลุ่มตัวอย่าง ผู้วิจัยสุ่มกลุ่มตัวอย่างเป็นสถานศึกษาจำนวน 1 แห่ง คือ โรงเรียนมัธยมวัดหนองแขม สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1

11.7. ตัวแปรที่ศึกษา การวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยใช้ตัวแปรที่ประกอบด้วย ตัวแปรพื้นฐานและตัวแปรที่ศึกษา ดังนี้ 1. ตัวแปรพื้นฐาน เป็นตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับสภาพส่วนตัวของผู้ตอบแบบสอบถาม ได้แก่ เพศ อายุ วุฒิการศึกษา ตำแหน่งหน้าที่ และประสบการณ์ในการทำงาน 2. ตัวแปรที่ศึกษา เป็นตัวแปรที่เกี่ยวกับการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาของ โรงเรียน ตามประกาศสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เรื่องแนวปฏิบัติการดำเนินงาน ประกันคุณภาพการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2561 จำนวน 6 ขั้นตอน

11.8. กรอบแนวคิดการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ศึกษาแนวทางการพัฒนาการดําเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ของโรงเรียนมัธยมวัดหนองแขม ตามประกาศสำนักคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เรื่องแนวปฏิบัติการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2561 โดยที่มีประกาศใช้กฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 ลงวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2561 ซึ่งได้กำหนดระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา ทั้งหน่วยงานต้นสังกัด หรือหน่วยงานกำกับดูแล และหน่วยงานภายนอกที่สะท้อนสภาพการดำเนินงานที่แท้จริง และ เกิดประสิทธิภาพ และกำหนดแนวทางในการขับเคลื่อนการประกันคุณภาพการศึกษาสอดคล้องกับ หลักการประกันคุณภาพ และมีกลไกปฏิบัติที่เอื้อต่อการดำเนินการดำเนินงานตามมาตรฐาน การศึกษาแต่ละระดับให้เกิดประสิทธิภาพในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอันส่งผลการดำเนินงาน การประกันคุณภาพการศึกษา โดยสรุปเป็นขอบเขตของการวิจัยวิธีการดำเนินงานคุณภาพการศึกษา ของสถานศึกษาตามกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา 6 ประการ ดังนี้คือ 1) การกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 2) การจัดทำแผนพัฒนาการ จัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 3) การดำเนินงาน 12 ตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา 4) การประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพภายใน สถานศึกษา 5) การติดตามผลการดำเนินงานเพื่อพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐาน การศึกษา และ 6) การรายงานผลการประเมินตนเอง

12. นางสาวฌุมพรี โพธิ์เจริญรักษ์

12.1. การพัฒนารูปแบบการนำผลการประเมินคุณภาพภายนอกไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาคุณภาพ สถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดเล็ก ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ*

13. file:///C:/Users/Tong/Downloads/bird_mark,+Journal+manager,+147_%E0%B8%97%E0%B8%B1%E0%B8%A8%E0%B8%99%E0%B9%8C%E0%B8%A8%E0%B8%B4%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B9%8C+%E0%B8%AA%E0%B8%A7%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%9A%E0%B8%B8%E0%B8%8D_%E0%B8%A1%E0%B8%99%E0%B8%B8%E0%B8%A9%E0%B8%A2%E0%B9%8C+3.pdf

14. นางสาวสุจินันท์ มณีวงษ์

14.1. ชื่อเรื่อง

14.1.1. ปัญหาการประกันคุณภาพภายนอกของโรงเรียน ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาปราจีนบุรี

14.2. ลิงก์งาน

14.2.1. http://grad.vru.ac.th/pdf-journal/JourTs23/08-Prasert.pdf

14.3. อ้างอิง APA

14.3.1. ประเสริฐ ศรีอยู่, จุไร โชคประสิทธิ์, อรสา โกศลานนทกุล, (2552). ปัญหาการประกันคุณภาพภายนอกของโรงเรียน ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาปราจีนบุรี, วรสารบัณฑิตศึกษา, มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์.

14.4. วัตถุประสงค์

14.4.1. 1. เพื่อศึกษาปัญหาการประกันคุณภาพภายนอกของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาปราจีนบุรี 2. เพื่อเปรียบเทียบระดับปัญหาการดำเนินงานเพื่อการประกันคุณภาพภายนอกของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาปราจีนบุรีตามขนาดโรงเรียนตำแหน่งและวุฒิการศึกษา

14.5. ปัญหาการวิจัย

14.5.1. 1. สถานศึกษาไม่นำผลประเมินะการประเมินคุณภาพภายนอกโดย สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.)ไปใช้ ประโยชน์ ทั้งนี้ อาจเนื่องมาจากไม่สามารถนำข้อเสนอแนะมาปรับใช้ได้ หรือ ไม่มีแนวทางในการนำผลประเมิน ไปใช้ ซึ่งปัญหาดังกล่าวมักจะพบในโรงเรียนขนาดเล็ก

14.6. ประชากร

14.6.1. ผู้บริหารและครูโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาปราจีนบุรี ปีการศึกษา 2549 จำนวน 274 โรงเรียน รวมประชากรทั้งสิ้น 548 คน โรงเรียนขนาดเล็ก จำนวน 266 คน โรงเรียนขนาดกลาง จำนวน 170 คน โรงเรียนขนาดใหญ่ จำนวน 112 คน

14.7. กลุ่มตัวอย่าง

14.7.1. ผู้บริหารและครู โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาปราจีนบุรี โดยกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างของทาโร่ ยามาเน่ (Taro Yamane) ได้กลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 231 คน

14.8. ตัวแปร

14.8.1. 1.ระดับปัญหาการดำเนินงานเพื่อการประกันคุณภาพภายนอก

14.9. กรอบแนวคิด

14.9.1. ตัวแปรต้น - ตำแหน่งหน้าที่ - วุฒิการศึกษา - ขนาดโรงเรียน

14.9.1.1. ตัวแปรตาม - ปัญหาการดำเนินงานเพื่อการประกันคุณภาพภายนอก