1. พัฒนาการด้านอารมณ์และสังคม
1.1. ทารกมีพัฒนาการทางอารมณ์ คือ โกรธ กลัว ดีใจ
1.2. 6 เดือน แยกคนคุ้นเคย กับคนแปลกหน้ามี stranger anxiety
2. จิตวิทยาพัฒนาการวัยทารก
2.1. อีริคสัน (Erikson)
2.1.1. ทฤษฎีจิตสังคม (Psychosocial developmental stage) กำหนดไว้ว่าระยะนี้ (0-2 ปี) เป็นวัยที่มีพัฒนาการความไว้วางใจ ตรงข้ามกับ ความไม่ไว้วางใจ (basic trust versus mistrust) แต่ถ้าทารกขาดคนอุ้มชู จะทำให้เกิดความไม่ไว้วางใจ เห็นว่าโลกนี้ไม่น่า อยู่ ไม่รักตนเองและผู้อื่น
2.2. ฟรอยด์ (Freud)
2.2.1. ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ (Psychoanalytic Theory) ได้จัดให้วัยนี้ (แรกเกิด – 18 เดือน) อยู่ในระยะที่มีความสุขความพอใจที่บริเวณปาก (oral stage) ทำให้เป็นคนกินจุ ดื่มมากไป ชอบนินทาว่าร้าย ปากจัด
2.3. เพียเจต์ (Piaget)
2.3.1. ทฤษฎีพัฒนาการทางปัญญา (Cognitive Theories) เรียกระยะนี้ว่า ขั้นใช้ประสาทสัมผัสและกล้ามเนื้อ (Sensorimotor Though)
2.4. พัฒนาการทางจริยธรรมในวัยทารกยังไม่ปรากฏ
2.4.1. พัฒนาการทางจริยธรรมเป็นผลมาจากกระบวนการทางปัญญากับการเรียนรู้ทางสังคม
3. การส่งเสริมโภชนาการและการดูแลที่เหมาะสม
3.1. การสะอึก
3.2. การแหวะนม
3.3. ตัวเหลือง
4. การส่งเสริมการขับถ่ายและการดูแลที่เหมาะสม
4.1. อุจจาระ
4.2. ปัสสาวะสีชมพู
5. การส่งเสริมการนอนหลับและการดูแลที่เหมาะสม
6. การส่งเสริมความสะอาดและการดูแลที่เหมาะสม
6.1. ลิ้นขาว
6.2. ผิวหนังลอก
6.2.1. ปกติผิวหนังของทารกครบกำหนดใน 1-2 วันแรก จะยังไม่ลอก ภายหลังอายุ 24 – 48 ชั่วโมง จึงเริ่มปรากฏ
6.3. ผื่นที่เกิดจากต่อมเหงื่อ
6.3.1. ทารกอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ร้อนและความชื้นสูง
6.4. ผดแดง
6.5. ตุ่มพอง
6.6. ตุ่มหนอง
6.7. ตุ่มขาวที่ผิวหนัง
6.7.1. มักแตกและหายไป เมื่ออายุ 2-3 สัปดาห์ หรืออาจอยู่นานถึง 2 เดือน
6.8. ขั้วสะดือ
6.8.1. ขั้วสะดือมักจะหลุดภายใน 2 สัปดาห์ (5-15 วัน)
6.9. เมือกและเลือดออกทางช่องคลอด
6.9.1. ในระหว่างวันที่ 3-5 หลังเกิด และหายไปเองใน 2 สัปดาห์
6.10. ผื่นผ้าอ้อม
7. การส่งเสริมสัมพันธภาพกับครอบครัว
7.1. การส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างบิดามารดา และทารก
7.2. พฤติกรรมปฏิสัมพันธ์ระหว่างมารดา และทารก
7.2.1. การสัมผัส
7.2.2. การประสานสายตา
7.2.3. การใช้เสียง
7.2.4. การรับกลิ่น
7.2.5. การให้ความอบอุ่น
8. การจัดกลุ่มทารก
8.1. แบ่งตามอายุครรภ์
8.1.1. ก่อนกำหนด
8.1.1.1. GA <37 wk (ครบ 259 days)
8.1.2. ครบกำหนด
8.1.2.1. GA 37-41 wk
8.1.3. เกินกำหนด
8.1.3.1. GA >=42 wk (294 days)
8.2. แบ่งตามน้ำหนักแรกเกิดของตาม percentile
8.3. แบ่งตามความสัมพันธ์ระหว่างน้ำหนักแรกเกิดและอายุครรภ์
8.3.1. ก่อนกำหนด
8.3.1.1. LGA
8.3.1.2. AGA
8.3.1.3. SGA
8.3.2. ครบกำหนด
8.3.2.1. LGA
8.3.2.2. AGA
8.3.2.3. SGA
8.3.3. เกินกำหนด
8.3.3.1. LGA
8.3.3.2. AGA
8.3.3.3. SGA
9. ไม่สามารถสร้างความร้อนเพิ่มเพื่อชดเชยการสูญเสียความร้อนเมื่อเกิดแหล่งผลิตความร้อนที่สำคัญ ได้แก่ ไขมันสีน้ำตาล (brown fat) ที่เริ่มปรากฏตั้งแต่ GA 26-30 wk
10. การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา
10.1. ระบบหายใจ
10.1.1. หายใจครั้งแรกจะเกิดขึ้น 2-3 sec หลังเกิด และไม่ควรเกิน 1 นาที
10.2. ระบบหัวใจและหลอดเลือด
10.2.1. Ductus arteriosus หยุดลงประมาณ 10-96 hr หลังเกิด และจะตีบจนปิดสมบูรณ์ภายใน 2-3 สัปดาห์หลังเกิด ส่วน Foramen ovale จะปิดอย่างสมบูรณ์ภายหลังเกิด 1 year
10.3. ระบบไหลเวียนโลหิต
10.3.1. RBC ของทารกแรกเกิดมีขนาดใหญ่และอายุสั้นกว่าผู้ใหญ่ มีอายุประมาณ 80-100 day มีปริมาณ WBC ประมาณ 9,000-30,000 cell/mm3 เมื่ออายุ 2 wk WBC จะลดลงเหลือประมาณ 5,000-20,000 cell/mm3
10.4. ระบบควบคุมอุณหภูมิ
10.5. ระบบทางเดินอาหาร
10.5.1. ต่อมน้ำลายยังเจริญไม่เต็มที่ จึงผลิตน้ำลายได้เล็กน้อย แต่จะสมบูรณ์เมื่อทารกอายุ 3 เดือน มีเอนไซม์ที่ย่อยไขมันจากตับอ่อนน้อย จึงทำให้ประสิทธิภาพในการย่อย และดูดซึมไขมันไม่ดี
10.6. ระบบทางเดินปัสสาวะ
10.6.1. ไตสามารถเริ่มทำงานได้เมื่อ GA 35 wk แต่อัตราการกรองยังไม่สมบูรณ์เหมือนผู้ใหญ่ ท่อไตสั้นและแคบ จึงทำให้ทารกสูญเสียน้ำออกจากร่างกายได้ง่ายกว่าผู้ใหญ่
10.7. ระบบภูมิคุ้มกัน
10.7.1. IgG จะส่งผ่านภูมิต้านทานโรคได้ในขณะที่มารดาตั้งครรภ์ในไตรมาสที่ 3 ทารกจะสร้าง IgM ขึ้นเอง เมื่อ GA 10-15 wk สามารถผลิต IgA ได้ในลำไส้เล็กภายหลังเกิด เมื่ออายุได้ 4 wk
10.8. ระบบประสาท
10.8.1. ทารกมีขนาดสมองประมาณ 1 ใน 4 ของขนาดสมองผู้ใหญ่ หรือเท่ากับร้อยละ 12 ของน้ำหนักตัว และจะเพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่า เมื่ออายุ 1 ปี เพิ่มเป็น 3 เท่าเมื่ออายุ 5-6 ปี
11. การประเมินภาวะสุขภาพ
11.1. การซักประวัติ
11.1.1. การตั้งครรภ์
11.1.1.1. ประวัติการตั้งครรภ์ในอดีต
11.1.1.2. ประวัติการตั้งครรภ์ในปัจจุบัน
11.1.2. ประวัติการคลอด
11.1.2.1. ประวัติการคลอดในอดีต
11.1.2.2. ประวัติการคลอดในปัจจุบัน
11.2. การประเมินโดยใช้ APGAR score
11.3. การประเมินโดยใช้อายุครรภ์
11.4. การตรวจร่างกาย
11.4.1. ลักษณะทั่วไป
11.4.1.1. สีผิว/เหลือง/skin turgor/แห้ง/ลอก/ผื่น/Mongolian spot/ความพิการ
11.4.1.2. น้ำหนัก
11.4.1.2.1. สัปดาห์แรกหลังเกิดลดลงได้ไม่เกิน 10%
11.4.1.2.2. ภายใน 2 สัปดาห์เพิ่มขึ้นจนเท่ากับแรกเกิด
11.4.1.2.3. อายุ 4-5 เดือน เป็นสองเท่าของแรกเกิด
11.4.1.2.4. อายุ 1 ปี เป็นสามเท่าของแรกเกิด
11.4.1.2.5. สูตรคำนวณน้ำหนักตามอายุ สำหรับอายุ 3-12 เดือน
11.4.1.3. ความยาว
11.4.1.3.1. แรกเกิด 50 cm
11.4.1.3.2. ภายใน 1 ปี เพิ่มเป็น 1.5 เท่า
11.4.1.4. เส้นรอบอก
11.4.1.4.1. แรกเกิดเส้นรอบอกจะน้อยกว่ารอบศีรษะ 2 cm
11.4.1.4.2. 6-8 เดือน และหลังจากนั้นรอบอกจะมากกว่ารอบศีรษะ
11.4.2. ศีรษะ
11.4.2.1. รูปร่าง/ลักษณะ/ผม/caput/cephal/fontanel/บาดแผล
11.4.2.2. ภานใน 1 ปี เพิ่มขึ้น 10 cm
11.4.2.3. กระหม่อม
11.4.2.3.1. กระหม่อมหน้า ค่อย ๆ ปิดเมื่ออายุปีครึ่ง
11.4.2.3.2. กระหม่อมหลัง ปิดเมื่ออายุเดือนครึ่ง
11.4.2.4. รอยต่อกะโหลกศีรษะ
11.4.2.4.1. คลำไม่ได้เนื่องจาก Molding
11.4.2.4.2. หลังเกิด 1 เดือน คลำได้กว้างประมาณ 2 mm
11.4.2.4.3. อายุ 6 เดือน จะชิดประสานกัน
11.4.3. ใบหน้า/ตา/หู/จมูก/ปาก
11.4.3.1. ความสมมาตร
11.4.3.2. ตา
11.4.3.2.1. ระดับหางตากับใบหู/เปลือกตา/discharge/lens ตา/ hemorrhage
11.4.3.2.2. พัฒนาการมองเห็น
11.4.3.3. หู
11.4.3.3.1. การคืนตัว/discharge
11.4.3.3.2. พัฒนาการได้ยิน
11.4.3.4. จมูก
11.4.3.4.1. milia/septum/discharge/ปีกจมูกบาน
11.4.3.5. ปาก
11.4.3.5.1. ลักษณะ/สี/cleft lip-palate/tongue-tie/neonatal teeth/ลิ้นคับ ปาก
11.4.3.5.2. การเคลื่อนไหวของขากรรไกร
11.4.3.5.3. การใช้ริมฝีปาก
11.4.3.5.4. การใช้ลิ้น
11.4.3.5.5. ฟัน
11.4.4. เต้านม/ทวารหนัก/อวัยวะสืบพันธุ์
11.4.4.1. ลักษณะ/ขนาด nipple/ลักษณะการหายใจ
11.4.4.2. รูทวารหนัก
11.4.4.3. เพศหญิง: labia/discharge
11.4.4.4. เพศชาย: ลักษณะ testis/ความยาว penis
11.4.4.5. พัฒนาการด้านการขับถ่าย
11.4.4.5.1. ขี้เทา (meconium)
11.4.4.5.2. ปัสสาวะ
11.4.5. มือ แขน ขา เท้า สะดือ ท้อง
11.4.5.1. จำนวนนิ้ว/ลายฝ่ามือฝ่า เท้า/club foot/muscle tone
11.4.5.2. ท้องอืดตึง/bowel sound
11.4.5.3. สะดือบวมแดง/bleed
11.4.6. Reflex
11.4.6.1. Sucking
11.4.6.2. Rooting
11.4.6.3. Grasping
11.4.6.4. Tonic neck
11.4.6.5. Babinski
11.4.6.6. Moro
12. พัฒนาการด้านร่างกายทารก
12.1. การเคลื่อนไหวที่ควบคุมได้จะปรากฏเมื่อ Primitive reflex ลดลง/หายไป
12.2. ทิศทางพัฒนาการกล้ามเนื้อมัดใหญ่ ทั้งความแข็งแรง และความตึงตัว มีทิศทางจากศีรษะไปเท้า และจากส่วนกลางไปส่วนปลายของลำตัว
12.3. พัฒนาการกล้ามเนื้อมัดใหญ่
12.3.1. ท่าคว่ำ
12.3.2. ท่านั่ง
12.3.3. ท่ายืนและเดิน
13. พัฒนาการกล้ามเนื้อมัดเล็ก
13.1. การแบมือเป็นพัฒนาการที่สำคัญที่สุด เป็นจุดเริ่มของการหยิบจับสิ่งของ palmar grasp reflex หายไปช่วง 3-4 เดือน เริ่มแบมือ เหยียดนิ้ว และจับสิ่งของโดยตั้งใจ
14. พัฒนาการด้านภาษา
14.1. 2-3 เดือน ส่งเสียงสื่อสารได้เป็นเสียงในลำคอ cooing
14.2. 4-5 เดือน ส่งเสียงสูงต่ำและยาวมากยิ่งขึ้น (jargon)
14.3. 6 เดือน ตอบโต้ผู้ที่คุยด้วย พูดคำเดี่ยวที่มีความหมายคำแรกได้ รู้จักชื่อตนเอง และตอบสนองโดยการหยุดฟัง มองหาที่มาของเสียง
14.4. 9-12 เดือน ใช้เสียง โดยอวัยวะในช่องปากเพื่อให้เกิดพยัญชนะ (babbing)
14.5. 1 ปี เข้าใจความหมายของคำ ชี้ไปยังจุดที่สนใจ (pointing) ก่อนพูดเรียกสิ่งของ
15. การส่งเสริมพัฒนาการและการเล่น
15.1. 0-3 เดือนแรก ได้แก่ โมบาย แขวนปลาตะเพียน กระจกเงา กล่องดนตรี ตุ๊กตาสัตว์ เครื่องเล่นกรุ๊งกริ๊ง ร้องเพลงกล่อมเด็ก การละเล่นแบบไทย
15.2. 3-6 เดือน ได้แก่ ของเล่นที่มี เสียงเมื่อถูกบีบ ร้องเพลงที่มีการเคลื่อนไหว (โยกเยกเอย) แขวนของเล่นไว้เหนือเตียง หรือรถเข็น ของเล่นเคาะ เขย่าแล้วเกิดเสียง ลูกบอลพลาสติก ช้อน กล่อง ฝาเปิดปิด เปิดเพลง หรือร้องเพลงสำหรับเด็ก หนังสือภาพ การ์ตูนที่มีรูปสัตว์ ยางกัดเล่นสำหรับทารก การเล่นเพื่อเสริมสร้างความสัมพันธ์ ได้แก่ ปูไต่ จั๊กจี
15.3. 6-9 เดือน เริ่มเข้าใจการหายไปของวัตถุที่เคยเห็น (object permanence) การเล่นจ๊ะเอ๋ เล่นตบแปะ ทำท่าทาง ประกอบ จะเริ่มใช้นิ้วมือในการสำรวจสิ่งของ
15.4. 10-12 เดือน หัดให้เด็กฝึกชี้รูปภาพจากหนังสือ ส่งเสริมความเข้าใจด้านภาษา การเล่นหุ่นมือ
16. ปัญหาพฤติกรรมทารก
16.1. โคลิค
16.1.1. โดยเกิดขึ้นนานกว่า 3 ชั่วโมงต่อวัน มากกว่า 3 วันต่อสัปดาห์ และติดต่อกันนานกว่า 3 สัปดาห์ (rule of three)
16.2. การร้องกลั้น
16.2.1. การร้องไห้อย่างรุนแรง ตามมาด้วยการกลั้นหรือหยุดหายใจในช่วงสิ้นสุดของการหายใจออก (end-expiration)