การพูด

Plan your website and create the next important tasks for get your project rolling

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การพูด by Mind Map: การพูด

1. ประเภทของการพูด

1.1. การพูดในกลุ่ม

1.1.1. เล่าถึงเนื้อหาและประเด็นประเด็นสำคัญๆ ว่ามีอะไรบ้าง

1.1.2. ภาษาที่ใช้ควรเป็นภาษาที่ง่าย

1.1.3. น้ำเสียงชัดเจนน่าฟัง เน้นเสียงในตอนที่สำคัญ

1.1.4. ใช้กิริยาท่าทางประกอบการเล่าเรื่องตามความเหมาะสม

1.1.5. มีการสรุปข้อคิดในตอนท้าย

1.2. การพูดระหว่างบุคคล

1.2.1. การทักทายปราศัย

1.2.1.1. หน้าตายิ้มแย้มแจ่มใส แสดงอาการยินดีที่ได้พบผู้ที่เราทักทาย

1.2.1.2. กล่าวคำปฏิสันถารที่เป็นที่ยอมรับกันในสังคม เช่น สวัสดีครับ สวัสดีค่ะ

1.2.1.3. ข้อความที่ใช้ประกอบการทักทายควรเป็นเรื่องที่ก่อให้เกิดความสบายใจ

1.2.1.4. แสดงกิริยาอาการประกอบคำปฏิสันถาร

1.2.2. การแนะนำตนเอง

1.2.2.1. บอกชื่อ นามสกุล บอกรายละเอียดกับตัวเรา และบอกวัตถุประสงค์ในการแนะนำตัว

1.2.3. การสนทนา

1.2.3.1. หน้าตายิ้มแย้มแจ่มใส

1.2.3.2. ใช้ถ้อยคำสำนวนภาษาที่ง่าย ๆ สุภาพ คำพูดและน้ำเสียงน่าฟัง เป็นกันเองกับคู่สนทนา

2. องค์ประกอบของการพูด

2.1. ผู้พูด

2.2. เนื้อเรื่องที่จะพูด

2.3. ผู้ฟัง

2.4. เครื่องมือสื่อความหมาย

2.5. ความมุ่งหมายและผลในการพูดแต่ละครั้ง

3. ข้อควรคำนึงในการสื่อสารด้วยการพูด

3.1. วัย เพศ ระดับการศึกษา อาชีพ ความสนใจพิเศษเพื่อเตรียมเรื่องที่จะพูดได้อย่างเหมาะสม การพูดให้เหมาะกับกาลเทศะ

3.2. จะพูดในโอกาสใด การพูดนั้นเป็นทางการมากน้อยแค่ไหน

3.3. ควรใช้ภาษาบ่งบอกความต้องการหรือความมุ่งหมายให้ชัดเจน หลีกเลี่ยงการตีความหลายแง่หลายมุม

4. มารยาทในการพูด

4.1. มารยาทในการพูดในที่สาธารณะ

4.1.1. แต่งกายให้สุภาพเรียบร้อยเหมาะแก่โอกาสและสถานที่

4.1.2. ใช้คำพูดที่ให้เกียรติแก่ผู้ฟังเสมอ

4.1.3. ไม่พูดหยาบโลนหรือตลกคะนอง

4.1.4. ไม่พูดพาดพิงถึงเรื่องส่วนตัวของบุคคลอื่นในที่ประชุม

4.1.5. ไม่แสดงกิริยาอาการอันไม่สมควรต่อหน้าที่ประชุม

4.2. มารยาทในการพูดระหว่างบุคคล

4.2.1. เรื่องที่พูดควรเป็นเรื่องที่ทั้ง 2 ฝ่าย มีความสนใจและพอใจร่วมกัน

4.2.2. ไม่พูดเรื่องของตนเองมากจนเกินไป ไม่สอดแทรกเมื่อเขาพูดยังไม่จบ

4.2.3. พูดตรงประเด็น อาจออกนอกเรื่องบ้างพอผ่อนคลายอารมณ์

4.2.4. เคารพความคิดเห็นของผู้อื่น ไม่บังคับให้ผู้อื่นเชื่อหรือคิดเหมือนตน

5. ความมุ่งหมายของการพูด

5.1. ความมุ่งหมายโดยทั่วไป

5.1.1. ความสนใจ

5.1.2. ความเข้าใจ

5.1.3. ความประทับใจ

5.2. ความมุ่งหมายเฉพาะ

5.2.1. เพื่อให้ข่าวสารความรู้

5.2.2. เพื่อความบันเทิง

5.2.3. เพื่อชักจูงใจ