จริยธรรมการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร

Solve your problems or get new ideas with basic brainstorming

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
จริยธรรมการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร by Mind Map: จริยธรรมการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร

1. การละเมิดสิทธิส่วนบุคคล

1.1. 23414

1.1.1. หมายถึงการที่บุคคลใช้เสรีภาพของตนมากเกินไป

1.1.1.1. ตัวอย่าง

1.1.1.1.1. 1.การใช้เทคโนโลยีในการติดตามความเคลื่อนไหวของผู้อื่น

1.2. 23405

1.2.1. การใช้สิทธิของตนมากเกิน จนไปละเมิดสิทธิของผู้อื่น

1.2.2. ตัวอย่างการละเมิดสิทธิ

1.2.2.1. ใช้เทคโนโลยีติมตามความเคลื่อนไหวของบุคคล

1.2.2.2. ใช้ข้อมูลลูกค้า เพื่อผลประโยชน์ทางการค้า

1.3. 23422

1.3.1. ประกอบด้วย

1.3.1.1. การเขียนข้อมูลหมิ่นประมาท

1.3.1.1.1. ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ หรือมาตรา 328

1.3.1.2. การเผยแพร่/ ปลอมแปลงข้อมูลส่วนบุคคล

1.3.1.2.1. ผิด มาตรา 326 และ 328

1.4. 23399

1.4.1. การแอบดึงข้อมูลการใช้งานที่เป็นส่วนตัว

1.4.1.1. ประวัติการใช้งาน

1.4.1.2. การกระทำ

1.5. 23410

1.5.1. ตัวอย่าการละเมิดลิขสิทธิส่วนบุคคล

1.5.1.1. ห้ามไม่ให้มีการสื่อสารผ่านทางเครือข่าย Blackberry Messenger

1.6. 23406

1.6.1. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540 มาตรา 28

1.6.1.1. มีโทษตาม

1.6.1.1.1. ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์

1.6.1.1.2. พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม

1.7. 23418

1.7.1. การใช้เทคโนโลยีในการติดตาม

1.7.1.1. พฤติกรรมของบุคคล

1.7.1.2. ความเคลื่อนไหวของบุคคล

2. กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับระบบสารสนเทศ

2.1. 23413

2.1.1. กฎหมายเกี่ยวกับอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์

2.1.1.1. การกระทำต่อระบบคอมพิวเตอร์

2.1.1.2. การกระทำต่อระบบข้อมูล

2.1.1.3. การกระทำต่อระบบเครือข่ายซึ่งใช้ในการติดต่อสื่อสาร

2.2. 23404

2.2.1. ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

2.2.1.1. กฎหมายเกี่ยวกับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์

2.2.1.1.1. กฎหมายเกี่ยวกับลายมือ

2.2.1.1.2. กฎหมายธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์แ

2.2.1.1.3. พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544

2.3. 23400

2.3.1. สำหรับประเทศไทย คณะรัฐมนตรีอนุมัติเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2541 ให้กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติเป็นผู้ร่าง มีการกำหนดกฎหมายที่จะร่างทั้งสิ้นหกฉบับ

2.4. 23423

2.4.1. การทำธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ผ่านเครือข่าย

2.4.1.1. กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นเพียงเครื่องมือสำหรับการสร้างความน่าเชื่อถือ และความสงบสุขของคนใน สังคมสารสนเทศ สิ่งที่สำคัญคือ ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตทุกคนจะต้องรู้ภาระหน้าที่ ความรับผิดชอบของตนเอง การดูแลสิทธิ ของตนเอง ไม่นำสิทธิของตนเองไปให้ผู้อื่นใช้ ซึ่งหากผู้อื่นนำไปใช้ในทางที่ผิดกฎหมาย

2.5. 23412

2.5.1. กฎหมายเกี่ยวกับการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์

2.5.1.1. หมายถึง การโอนเงินจากบัญชีเงินฝากหนึ่งเข้าบัญชีเงินฝากอื่น โดยอาจเป็นบัญชีเงินฝากที่อยู่ในธนาคารเดียวกันหรือต่างธนาคารก็ได้

2.5.1.2. การโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์มีองค์ประกอบที่สำคัญ ดังนี้ - ผู้โอน - ผู้รับโอน - ธนาคารของผู้โอน - ธนาคารของผู้รับโอนคำสั่งโอนเงิน - ระบบการโอนเงิน

2.6. 23421

2.6.1. กฎหมายเกี่ยวกับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์

2.6.1.1. เกี่ยวกับการการทำกิจกรรมในทางแพ่งและพาณิชย์ผ่านทางอิเล็กทรอนิกส์

2.7. 23401

2.7.1. อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ (computer crime or cyber crime)

2.7.1.1. 1.การขโมยข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต ซึ่งรวมถึงการขโมยประโยชน์ในการลักลอบใช้บริการ 2.อาชญากรนำเอาระบบการสื่อสารมาปกปิดความผิดของตนเอง 3.การละเมิดสิทธิ์ปลอมแปรงรูปแบบ เลียนแบบระบบซอพต์แวร์โดยมิชอบ 4.ใช้คอมพิวเตอร์แพร่ภาพ เสียง ลามก อนาจาร และข้อมูลที่ไม่เหมาะสม 5.ใช้คอมพิวเตอร์ฟอกเงิน 6.อันธพาลทางคอมพิวเตอร์ที่เช้าไปก่อกวน ทำลายระบบสาราณูปโภค เช่น ระบบจ่ายน้ำ จ่ายไป ระบบการจราจร 7.หลอกลวงให้ร่วมค้าขายหรือลงทุนปลอม 8.แทรกแซงข้อมูลแล้วนำข้อมูลนั้นมาเป็น)ระโยชน์ต่อตนโดยมิชอบ เช่น ลักรอบค้นหารหัสบัตรเครดิตคนอื่นมาใช้ ดักข้อมูลทางการค้าเพื่อเอาผลประโยชน์นั้นเป็นของตน 9.ใช้คอมพิวเตอร์แอบโอนเงินบัญชีผู้อื่นเข้าบัญชีตัวเอง

3. การละเมิดลิขสิธิ์

3.1. 23415

3.1.1. ๒) การละเมิดลิขสิทธิ์โดยอ้อม

3.1.1.1. การกระทรวงทางการค้า

3.1.1.2. การกระทรวงที่มีส่วนสนับสนุนให้เกิดการ ละเมิดลิขสิทธิ์

3.1.1.3. ผู้กระทำรู้อยู่แล้วว่างานใดได้ทำขึ้นโดยละเมิดลิขสิทธิ์ของผู้อื่น แต่ก็ยังกระทำเพื่อหากำไรจากงานนั้น

3.1.1.3.1. การขาย มีไว้เพื่อขาย

3.1.1.3.2. ให้เช่า เสนอให้เช่า

3.1.1.3.3. ให้เช่าซื้อ เสนอให้เช่าซื้อ

3.2. 23409

3.2.1. ลิขสิทธิ์ เป็นทรัพย์สินทางปัญญาอย่างหนึ่งเกี่ยวกับงานสร้างสรรค์ที่ตนได้กระทำขึ้น

3.2.1.1. โดยตรง

3.2.1.1.1. การทำซ้ำ ดัดแปลง เผยแพร่โปรแกรมคอมพิวเตอร์แก่สาธารณชน โดยไม่ได้รับอนุญาติ

3.2.1.2. โดยอ้อม

3.2.1.2.1. กระทรวงทางการค้าสนับสนุนให้เกิดการ ละเมิดลิขสิทธิ์ดังกล่าว

3.3. 23424

3.3.1. การได้มาซึ่งลิขสิทธิ์

3.3.1.1. สิทธิในลิขสิทธ์ได้มาตั้งแต่ผู้สร้างได้สร้างสรรค์ผลงานขึ้น

3.3.2. การคุ้มครองลิขสิทธิ์

3.3.2.1. ผู้เป็นเจ้าของลิขสิทธิ์มีสิทธิเพียงผู้เดียว ในการใช้ประโยชน์จากผลงาน

3.4. 23403

3.5. 23417

3.5.1. เป็นทรัพย์สินทางปัญญา

3.5.2. การละเมิด

3.5.2.1. โดยตรง

3.5.2.1.1. การทำซ้ำดัดแปลงแก้ขัยโดยไม่ได้รับอนุญาตจากเจ้าของลิขสิทธิ์

3.5.2.2. โดยอ้อม

3.5.2.2.1. สนับสนุนให้เกิด ละเมิดลิขสิทธิ์ดังกล่าวข้างต้น

3.6. 23419

3.6.1. ลิขสิทธิ์

3.6.1.1. เป็นทรัพย์สินทางปัญญาอย่างหนึ่ง

3.6.1.2. การละเมิดลิขสิทธิ์

3.6.1.2.1. ทางตรง

3.6.1.2.2. ทางอ้อม

3.6.1.3. การได้มาซึ่งลิขสิทธิ์

3.6.1.3.1. เกิดขึ้นทันทีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ได้สร้างสรรค์ผลงานออกมาโดย ไม่ต้องจดทะเบียน

3.6.1.4. การคุ้มครองลิขสิทธิ์

3.6.1.4.1. ผู้เป็นเจ้าของลิขสิทธิ์มีสิทธิแต่เพียงผู้เดียว ในการใช้ประโยชน์จากผลงาน

3.7. เป็นทรัพย์สินทางปัญญาอย่างหนึ่ง ที่กฎหมายให้ความคุ้มครอง

3.7.1. โดยตรง

3.7.1.1. ทำซ้ำ ดัดแปลง ไม่ได้รับอนุญาตจากเจ้าของลิขสิทธิ์

3.7.2. โดยอ้อม

3.7.2.1. ผู้กระทำรู้อยู่แล้วว่างานใดได้ทำขึ้นโดยละเมิดลิขสิทธิ์ของผู้อื่น

3.8. 212345

3.8.1. jlkjlkjlkjlkjlkjlkjlkjlkjlkjlkjlkjlkjlkjlkjlk

4. อาชญากรรมบนเครือข่าย

4.1. 23402

4.1.1. การเจาะระบบ

4.1.1.1. การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์หรือเครือข่ายโดยไม่ได้รับอนุญาต และในบางกรณีอาจหมายถึงการใช้สิทธิการเข้าถึงนี้โดยไม่ได้รับอนุญาต

4.1.2. การก่อการร้ายทางคอมพิวเตอร์

4.1.2.1. เกี่ยวข้องกับการเจาระบบคอมพิวเตอร์เพื่อก่อเหตุรุนแรงต่อบุคคลหรือทรัพย์สิน

4.2. 23420

4.2.1. ภาพอนาจารทางออนไลน์

4.2.1.1. การประมวลผลหรือการเผยแพร่ภาพอนาจารเด็กถือเป็นการกระทำที่ผิดกฎหมาย การเผยแพร่ภาพลามกอนาจารในรูปแบบใดๆ แก่เยาวชนถือเป็นการกระทำที่ขัดต่อกฎหมาย

4.3. 23411

4.3.1. อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ (Computer crime หรือ cyber crime) เป็นการกระทำที่ผิดกฎหมายโดยใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือ

4.3.1.1. การโจรกรรมข้อมูลหรือความลับของบริษัท

4.3.1.2. การบิดเบือนข้อมูล

4.3.1.3. การถอดรหัสโปรแกรมคอมพิวเตอร์

4.3.1.4. การก่อกวนโดยกลุ่มแฮกเกอร์

4.3.1.4.1. ไวรัสคอมพิวเตอร์

4.3.1.4.2. การทำลายข้อมูลและอุปกรณ์

4.3.2. บุคคลที่ใช้ความรู้ความสามารถในทางที่ไม่ถูกต้อง/ผิดกฎหมาย

4.3.2.1. แฮกเกอร์

4.3.2.1.1. การลักลอบเข้าไปยังคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นโดยผ่านการสื่อสารเครือข่ายโดยไม่ได้รับอนุญาต

4.3.2.2. แครกเกอร์

4.3.2.2.1. แฮกเกอร์ที่ลักลอบเข้าไปยังคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นเพื่อวัตถุประสงค์ในเชิงธุรกิจ

4.3.2.3. hacktivist หรือ cyber terrorist

4.3.2.3.1. แฮกเกอร์ที่ใช้อินเตอร์เน็ตในการส่งข้อความเพื่อผลประโยชน์ทางการเมืองไปยังบุคคลอื่นๆ

4.4. 23416

4.4.1. ภายในโรงเรียน

4.4.1.1. เยาวชนจำเป็นต้องได้รับทราบเกี่ยวกับวิธีการใช้งานเครื่องมืออันทรงพลังนี้อย่างปลอดภัยและมีความรับผิดชอบ เพื่อกระตุ้นให้เด็กได้เรียนรู้เกี่ยวกับข้อกำหนดทางกฎหมาย สิทธิของตนเอง และวิธีที่เหมาะสมในการป้องกันการใช้อินเทอร์เน็ตในทางที่ผิด

4.5. 23407

4.5.1. การเงิน

4.5.1.1. อาชญากรรมที่ขัดขวางความสามารถขององค์กรธุรกิจในการทำธุรกรรม อี-คอมเมิร์ซ (หรือพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์

4.6. 23425

4.6.1. การละเมิดลิขสิทธิ์

4.6.1.1. การคัดลอกผลงานที่มีลิขสิทธิ์ โดยไม่ได้รับอนุญาติจากเจ้าของลิขสิทธิ์ หรือโดยการโจรกรรมทางออนไลน์