สิ่งแวดล้อม

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
สิ่งแวดล้อม by Mind Map: สิ่งแวดล้อม

1. ขอบเขตของงาน

1.1. 1.คุณภาพของอากาศในบรรยากาศและอาคาร

1.2. 2.คุณภาพน้ำ

1.3. 3.อาหารและความปลอดภัยของอาหาร

1.4. 4.การจัดการของเสียและมลพิษในดิน

1.5. 5.การป้องกันการกระจายของรังสีที่แตกตัวได้และไม่แตกตัว

1.6. 6.การควบคุมพาหะนำโรค

1.7. 7.สุขภาพของผู้ประกอบอาชีพในสถานที่ทำงาน

1.8. 8.การป้องกันอุบัติเหตุและหาหรบาดเจ็บ

1.9. 9.การตั้งถิ่นฐานและการพักผ่อนหย่อนใจ

1.10. 10.การจัดการคมนาคมขนส่ง

1.11. 11.การเกษตร

1.12. 12.การพลังงาน

1.13. 13.งานอนามัยสิ่งแวดล้อมและนิเทศวิทยาของมนุษย์

1.14. 14.การวางแผนการใช้ประโยชน์ที่ดิน

1.15. 15.กิจกรรมการท่องเที่ยว

1.16. 16.สิ่งแวดล้อมโลก

2. ประเภทของสิ่งแวดล้อม

2.1. แบ่งตามองค์ประกอบ

2.1.1. กายภาพ

2.1.1.1. เช่น อากาศ ดิน น้ำ ลมไฟ

2.1.2. เคมี

2.1.2.1. เช่น แร่ธาตุ โลหะ สารประกอบเคมีต่างๆ

2.1.3. ชีวภาพ

2.1.3.1. พืช สัตว์ จุลินทรีย์

2.1.4. สังคม

2.1.4.1. จารีต ประเพณี วัฒนธรรม

2.2. แบ่งตามลักษณะ

2.2.1. เกิดตามธรรมชาติ

2.2.1.1. ดิน น้ำ ลม อากาศ

2.2.2. มนุษย์สร้างขึ้น

2.2.2.1. ที่อยู่อาศัย อาหาร ยา

2.3. แบ่งตามการมีชีวิต

2.3.1. มีชีวิต

2.3.1.1. คน พืช สัตว์

2.3.2. ไม่มีชีวิต

2.3.2.1. อากาศ น้ำ บ้าน

2.4. แบ่งตามสิ่งแวดล้อมโลก

2.4.1. อากาศ

2.4.2. น้ำ

2.4.3. แผ่นดิน

3. ความสำคัญของอนามัยสิ่งแวดล้อม

3.1. สิ่งแวดล้อมที่ดี

3.1.1. สุขภาพดี

3.2. สิ่งแวดล้อมที่ไม่ดี

3.2.1. เกิดโรค

4. ประเภทของงานอนามัยสิ่งแวดล้อม

4.1. 1.การสุขาภิบาลที่อยู่อาศัย

4.1.1. จัดบ้านให้ตอบสนองความต้องการทางสรีรวิทยา

4.1.1.1. การระบายอากาศและอุณหภูมิ

4.1.1.2. แสงสว่าง

4.1.1.3. การป้องกันเหตุรำคาญ

4.1.1.4. จัดพื้นที่บริเวณบ้านใช้ในการพักผ่อน

4.2. 2.การจัดหาน้ำสะอาด

4.2.1. แหล่งน้ำ

4.2.2. คุณภาพของน้ำ

4.2.3. ปริมาณของน้ำ

4.2.3.1. น้ำดื่ม

4.2.3.1.1. การต้ม

4.2.3.1.2. การกรอง

4.2.3.2. น้ำใช้

4.2.3.2.1. น้ำประปา

4.2.3.2.2. น้ำฝน

4.2.3.2.3. น้ำผิวดิน

4.2.3.2.4. น้ำใต้ดิน

4.3. 3.การกำจัดขยะมูลฝอย

4.3.1. รวบรวมขยะมูลฝอย

4.3.1.1. การรวบรวม ณ จุดกำเนิด

4.3.1.1.1. รวบรวมการครัวเรือน สถานที่ต่างๆ

4.3.1.2. การเก็บขยะรวม

4.3.1.2.1. การรวบรวมโดยหน่วยงานของรัฐ หรือ ท้องถิ่น

4.3.2. เลือกตามความเหมาะสม

4.3.2.1. นำไปใช้ประโยชน์ใหม่

4.3.2.2. การหมัก

4.3.2.3. การฝัง

4.3.2.4. การเผา

4.3.2.5. การกองทิ้งกลางแจ้ง

4.4. 4.การสุขาภิบาลอาหาร

4.4.1. สุขวิทยาส่วนบุคคลและสุขนิสัยของผู้ประกอบอาหารและผู้บริโภค

4.5. 5.การบำบัดน้ำเสียหรือน้ำโสโครก

4.5.1. น้ำเสียชุมชน

4.5.1.1. 1.น้ำฝนที่ไม่ได้รองรับไว้ใช้ประโยชน์

4.5.1.2. 2.น้ำเสียจากที่พักอาศัย

4.5.1.3. 3.น้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม

4.5.2. การกำจัดน้ำเสีย

4.5.2.1. 1.ไม่ใช้กรรมวิธีบำบัด

4.5.2.1.1. การทำให้เจือจางโดยนำน้ำเสียปล่อยทิ้งลงในแหล่งน้ำ

4.5.2.1.2. การปล่อยลงพื้นดิน

4.5.2.2. 2.โดยใช้กรรมวิธีบำบัด

4.5.2.2.1. การใช้จุลินทรีย์ย่อยสลาย

4.5.2.2.2. การใช้ถังดักไขมัน

4.6. 6.การกำจัดอุจาระ

4.6.1. 1.ไม่ใช่น้ำ

4.6.1.1. ส้วมหลุม

4.6.1.2. ส้วมเคมี

4.6.2. 2.ใช้น้ำ

4.6.2.1. ส้วมซึม

4.6.2.2. ส้วมถังเกรอะ

4.6.2.3. กำจัดร่วมกับน้ำโสโครกในชุมชน

4.7. 7.การควบคุมหนูแมลง สัตว์กัดแทะ

4.7.1. ควบคุมแมลงวัน

4.7.1.1. ทำลายตัวอ่อน

4.7.1.1.1. นำมูลสัตว์ไปตากแห้ง

4.7.1.1.2. การใช้สารเคมีพ้นใต้กองมูลสัตว์

4.7.1.2. การฆ่าแมลงวัน

4.7.1.2.1. ใช้ DDT

4.7.1.2.2. กับดักไฟฟ้า

4.7.2. ควบคุมยุง

4.7.2.1. กำจัดแหล่งน้ำขัง

4.7.2.2. พ่นหมอกควัน

4.7.3. ควบคุมแมลงสาบ

4.7.3.1. จัดที่พักอาศัยให้เรียบร้อย

4.7.3.2. ไม่มีเศษอาหารตกหล่น

4.7.4. ควบคุมหนู

4.7.4.1. เน้น การปรับปรุงสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม

4.7.4.2. การดักหนู

4.7.4.2.1. ใช้ยาผสมในอาหารให้หนูกิน