1. การเคลื่อนที่เเนวดิ่ง
1.1. สูตรเหมือนกันกับเเนวราบเพียงเเต่ว่าค่า ความเร่งจะเท่ากับค่า g คือ 10 หรือ -10
1.2. ตัวอย่างโจทย์
1.2.1. โยนหินขึ้นบนฟ้าด้วยความเร็วต้น 10 m/s เมื่อหินออกจากมือไป3วิ จงหาว่าหินอยู่สูงเท่าไหร่ s=ut+1/(2 ) at^2 s= 30+1/2 (-10)9 s=30-45
2. เลขนัยสำคัญ
2.1. หลักการนับ
2.1.1. เลขทุกตัวที่ไม่ใช่0เป็นนัยสำคัญ
2.1.2. เลข0ที่อยู่ระหว่างเลขนัยสำคัญอื่นนับเป็นนัยสำคัญ
2.1.3. เลข0ที่อยู่หน้าตัวอื่นไม่นับ
2.1.4. 0ที่อยู่หลังทศนิยมเป็นนัยสำคัญ
2.2. การบวกเลขนัยสำคัญ
2.2.1. ใช้เลขนัยสำคัญที่น้อยที่สุดของตัวบวกในการตอบ
2.3. การคูนการหาร
2.3.1. ใช้เลขนัยสำคัญที่น้อยที่สุดของตัวหารตอบ
3. กฏของนิวตัน
3.1. หากวัตถุหยุดอยุ่นิ่งๆหากไม่มีเเรงมากระทำวัตถุจะยังหยุดนิ่งต่อไป
3.2. หากมีเเรงลัพธ์ที่ไม่เท่ากับ0มากระทำกับวัตถุที่อยู่นิ่ง วัตถุจะมีความเร่งทิศทางเดียวกับเเรงลัพธ์เสมอ
3.3. เเรงกิริยาเท่ากับเเรงปฏิกิริยา ทิศทางตรงกันข้ามกัน
3.4. ตัวอย่างโจทย์
3.4.1. ผู้โดยสารอยู่ในรถที่กำลังโค้งไปทางซ้ายถ้ามีของตก จะเคลื่อนที่อย่างไร ตอบ เบนไปทางขวาเเนวตรง
3.4.2. นักบินอวกาศหนัก75กิโลกรัม ไปอยู่บนดาวดวงนหึ่งปรากฏชั่งได้225 เเรงดึงดูดของดาวเป้นกี่เท่า ตอบ 3 เท่า
3.5. สูตร
3.5.1. W= mg
3.5.2. F=ma
4. การเคลื่อนที่วงกลม
4.1. v=2πrf
4.2. v=2πr/t
4.3. a=v^2/r
4.4. f=mv^2/r
4.5. ตัวอย่างโจทย์
4.5.1. รถยนต์มวล 1,000 กิโลกรัม แล่นด้วยความเร็ว 60 กิโลเมตรต่อชั่วโมงเลี้ยวโค้งบนถนน ที่มีผิวอยู่ในแนวระดับและมีทางโค้ง 2 โค้ง ซึ่งมีรัศมีความโค้ง 100 เมตร และ 500 เมตร ตามลำดับเเรงศุนย์กลางที่กระทำต่อรถยนตร์เป็นเท่าใด วิธีทำ จาก F_c = \frac{{mv^2 }}{r} ในที่นี้ m = 1000 kg, v = \frac{{60 \times 10^3 }}{{3600}}m/s และ r = 100 F_c = \frac{{1000kg}}{{100m}} \times \left( {\frac{{60 \times 10^3 }}{{3600}}m/s} \right)^2 F_c = 2,778 N
4.5.2. รถยนต์มวล 1,550 กิโลกรัม แล่นเลี้ยวบนถนนระดับ ซึ่งมีรัศมีความโค้ง 50 เมตร ด้วยอัตราเร็ว 36 กิโลเมตรต่อชั่วโมง จงหาแรงเสียดทานระหว่างพื้นถนนกับยางรถที่มีค่าน้อยที่สุดที่ทำให้รถยนต์สามารถเลี้ยวได้อย่างปลอดภัย วิธีทำ แรงเสียดทานระหว่างพื้นถนนกับยางรถที่มีค่าน้อยที่สุดที่ทำให้รถยนต์สามารถเลี้ยวโค้งได้ คือแรงสู่ศูนย์กลาง F_c = \frac{{mv^2 }}{r} จะได้แรงสู่ศูนย์กลาง ในที่นี้ m = 1,550 kg, v = 10 m/s และ r = 50 m แทนค่า F_c = \frac{{1550kg \times (10m/s)^2 }}{{50m}} จะได้แรงสู่ศูนย์กลาง = 3,100 N
5. การเคลื่อนที่เเนวราบ
5.1. สูตรต่างๆ
5.1.1. s=ut+1/(2 ) at^2
5.1.2. s=((u+v)/2)t
5.1.3. v=u+at
5.1.4. v^2=u^2+2as
5.2. ตัวอย่างโจทย์
5.2.1. จรวดลำหนึ่งทยานขึ้นจากพื้นโลกในเเนวดิ่งด้วยความเร่ง15 m/s เมื่อผ่านไป 60วิ จรวดอยู่สูงกี่เมตร วิธีทำ s=ut+1/(2 ) at^2 = s=0*60+1/2*15*60*60 = 27000
6. หน่วยวัด
6.1. ระบบอังกฤษ
6.2. ระบบสากลระหว่างชาติ (SI)
6.2.1. ความยาว : เมตร
6.2.2. มวล : กิโลกรัม
6.2.3. เวลา : วินาที
6.2.4. อุณหภูมิเทอร์โมไดนามิกซ์ : เคลวิน
6.2.5. กระเเสไฟฟ้า : แอมแปร์
6.2.6. ความเข็มของเเสง : เเคนเดิล
6.2.7. ปริมาณสสาร : โมล
6.3. ระบบเมทริก (CGS)
7. ปริมาณในฟิสิกส์
7.1. ปริมาณสเกลาร์
7.1.1. ปริมาณที่ระบุเพียงขนาดเเละหน่วย
7.2. ปริมาณเวกเตอร์
7.2.1. ปริมาณที่บอกทั้งขนาดเเละทิศทาง
8. กาารเคลื่อนที่เเบบโพรเจกไทล์
8.1. สูตร
8.1.1. h(max) = (u^2 sinθ)/2g
8.1.2. t=usinθ/g
8.1.3. หาเเกน y ใช้สูตรs=ut+1/(2 ) at^2
8.1.4. s(x)=u(x)t
8.2. ตัวอย่างโจทย์
8.2.1. ถ้าถือปืนที่ยิงด้วยแรงอัดของสปริงเล็งไปยังเป้า โดยให้ลำกล้องปืนขนานกับพื้นและสูงจากพื้น 6.0 เมตร ส่วนปากลำกล้องปืนห่างจากเป้า 4.0 เมตร เมื่อทำการยิงลูกปืนที่ออกจากปากลำกล้องปืนด้วยความเร็ว 5.0 เมตรต่อวินาที ในขณะเดียวกันเป้าตกแบบเสรีสู่พื้น ขณะลูกกลมเหล็กกระทบเป้า เป้าอยู่สูงจากพื้นเท่าใด วิธีทำ 4= 5t t=0.8 s = ut + \frac{1}{2}at^2 (6.0 - h ) m = 0+\frac{1}{2} \times(9.8m/s^2 ) \times (0.8s)^2 = 3.1 m ขณะลูกเหล็กกระทบเป้า ความสูงของเป้าจากพื้นคือ h = 6.0 m - 3.1 m = 2.9 m