Get Started. It's Free
or sign up with your email address
Physics by Mind Map: Physics

1. เสึยง

1.1. เป็นการถ่ายโอนพลังงานจากการสั่นของเเหล่งกำเนิดผ่านอนุภาคตัวกลาง จึงเป็นคลื่นกล เเละเป็นคลื่นตามยาว

1.2. ความเร็วเสียงเมื่ออุณหภูมิสูง

1.2.1. สูตร

1.2.1.1. v1/v2 = รูทของ (T1/T2)

1.2.2. สูตรลัด

1.2.2.1. ใช้ต่อเมื่ออุณหภูมิไม่เกิน 45 องศา

1.2.2.1.1. Vt = 331+0.6t

1.3. สมบัติของเสียง

1.3.1. สะท้อน

1.3.2. หักเห

1.3.3. เเทรกสอด

1.3.4. เลี้ยวเบน

1.4. การสั่นพ้อง

1.4.1. การที่มีเเรงกระทำต่อวัตถุสั่นหรือเเกว่งด้วยความถี่ธรรมชาตอของวัตถุนั่นทำให้วัตถุสั่นเเรงขึ้น

1.4.2. สูตร

1.4.2.1. V = fเเลมด้า

1.4.2.2. V = f(4L)

1.4.2.3. V =f(2d)

1.5. บีตส์

1.5.1. ความถี่บีตส์

1.5.1.1. | f1 - f2 |

1.5.2. ความถี่ของเสียงบีตส์ที่เราได้ยิน

1.5.2.1. (f1 + f2)/2

1.6. ความเร็วเสียง

1.6.1. V = s/t

1.6.2. V = s(เเลมด้า)

1.7. ความเข้มเสียง

1.7.1. I = P/A

1.7.2. I = P/4พาย Rกำลังสอง

1.8. ระดับความเข้มเสียง

1.8.1. เบต้า = 10logI/i0 (เดซิเบล)

1.9. ผลต่างระดับความเข้มเสียง

1.9.1. B=เบต้า ; B1-B2 = 10log i1/i2

1.9.2. B1- B2 = 20logR2/R1

1.10. เสียงที่คนฟังได้

1.10.1. 20 - 20000 เฮิร์ต

1.10.2. (10 กำลัง -12 ) -1 วัตต์/ตารางเมตร

1.10.3. 0-120 เดซิเบล

1.11. Hamonic

1.11.1. ท่อปลายปิด

1.11.1.1. harmonic เป็นเลขคี่ f,3f,5f,......

1.11.2. ท่อปลายเปิด

1.11.2.1. harmonic เป็นเลขเรียง f,2f,3f,......

1.12. Doppler Effect

1.12.1. เป็นปรากฏการณ์ที่ผู้ฟังได้ยินเสียงที่มีความถี่เปลี่ยนไปจากความถี่จริงของเเหล่งกำเนิดเสียง เนื่องจากเเหล่งกำเนิดเสียงเเละผู้ฟังมีการเคลื่อนที่สัมพัทธ์กัน

1.12.2. ผู้ฟังจะเคลื่อนมี่หรือไม่เคลื่อนที่ไม่มีผลต่อความยาวคลื่น

1.12.3. เมื่อเเหล่งกำเนิดเคลื่อนที่

1.12.3.1. เเลมด้าหน้ารถจะสั้นลง

1.12.3.1.1. เเลมด้าหน้ารถ = (u-vs)/f0

1.12.3.2. เเลมด้าหลังรถจะยาวขึ้น

1.12.3.2.1. เเลมด้าหลังรถ = (u+vs)/f0

1.12.4. ความถี่เสียงที่ปรากฎต่อผู้ฟัง

1.12.4.1. f ปรากฎ = f0 (u-vL / u-vS)

1.13. คลื่นกระเเทกเเละกรวยเสียง

1.13.1. สูตร

1.13.1.1. Sin เซต้า = u/vs

1.13.1.2. mach No = ความเร็วเเหล่งกำเนิด/ความเร็วเสียง

1.13.1.3. mach No = 1/sinเซต้า

1.14. โจทย์

1.14.1. ถ้าโจทย์ให้ T กับ V ให้หาระยะทาง

1.14.2. โจทย์ให้ V กับ เเลมด้าให้หาความถี่

1.14.3. ถ้าโจทย์ให้อุณหภูมิมาให้ใช้สูตร vt = 331+06t

1.14.4. เเทนสูตรเอา

2. ทัศนอุปกรณ์

2.1. เเว่นขยาย

2.1.1. เป็นเลนส์นูนอันเดียว

2.1.2. ต้องวางวัตถุที่สนใจไว้ในระยะโฟกัสของเลนส์จะได้ภาพเสมือนหัวตั้งขนาดขยาย

2.2. กล้องถ่ายรูป

2.2.1. เป็นเลนส์นูนอันเดียว

2.2.2. วางวัตถุที่เราสนใจไว้นอก 2f ของเลนส์ จะได้ภาพจริงหัวกลับขนาดย่อ บนฟิล์ม ที่เป็นฉากรับเเสง

2.3. เครื่องฉายภาพนิ่ง

2.3.1. เป็นเลนส์นูนอันเดียว

2.3.2. วางวัตถุไว้ระหว่าง 2fกับf จะได้ภาะจริงหัวกลับขนาดขยายบนฉาก

2.3.3. เนื่องจากภาพขยายใหญ่ขึ้น ความสว่างของภาพจึงลดลง

2.4. กล้องจุลทรรศน์

2.4.1. ใช้เลนส์นูนสองอัน

2.4.1.1. เลนส์ใกล้วัตถุ จะอ้วนมาก (fสั้นมาก)

2.4.1.2. เลนส์ใกล้ตา จะผอมกว่าเลนส์ใกล้วัตถุ

2.4.2. ภาพสุดท้ายจะเป็นภาพเสมือนหัวกลับขนาดใหญ่

2.4.3. กำลังขยายรวม

2.4.3.1. m1 * m2

3. คลื่นกล

3.1. สมบัติของคลื่น

3.1.1. สะท้อน

3.1.1.1. กฎการสะท้อน

3.1.1.1.1. 1.มุมตกกระทบ=มุมสะท้อน

3.1.1.1.2. 2.รังสีตกกระทบ รังสีสะท้อนเเละเส้นเเนวฉากต้องอยู่บนระนาบเดียวกัน

3.1.1.2. การสะท้อนปลายปิด

3.1.1.2.1. เฟสของคลื่นสะท้อนจะตรงข้ามเดิม

3.1.1.3. การสะท้อนปลายเปิด

3.1.1.3.1. เฟสของคลื่นสะท้อนจะเหมือนเดิม

3.1.1.4. การที่คลื่นเคลื่อนที่มาถึงขอบสุดท้ายของตัวกลางหรือมาถึงรอยต่อระหว่างตัวกลางเเล้วมีการเคลื่อนที่กลับสู่ตัวกลางเดิม

3.1.2. หักเห

3.1.2.1. การที่คลื่นเคลื่อนที่จากตัวกลางหนึ่งเข้าไปในอีกตัวกลางหนึ่งทำให้ความยาวคลื่นเเละความเร็วเปลี่ยนไปจากเดิม

3.1.2.2. สูตร

3.1.2.2.1. Sin(เซต้า)1/Sin(เซต้า)2 = V1/V2 = เเลมด้า1/เเลมด้า2

3.1.2.3. มุมเซต้าวัดได้จาก

3.1.2.3.1. 1.รังสีทำกับเส้นเเนวฉาก

3.1.2.3.2. 2.หน้าคลื่นทำกับเเนวรอยต่อของตัวกลาง

3.1.2.4. น้ำลึก

3.1.2.4.1. ความเร็วมาก

3.1.2.4.2. เเลมด้ามาก

3.1.2.4.3. เซต้าใหญ่

3.1.2.5. น้ำตื้น

3.1.2.5.1. ความเร็วน้อย

3.1.2.5.2. เเลมด้าน้อย

3.1.2.5.3. เซต่าเล็ก

3.1.3. เเทรกสอด

3.1.3.1. สูตร

3.1.3.1.1. S1P-S2P = ......เเลมด้า

3.1.3.1.2. dsinเซต้า = ......เเลมด้า

3.1.3.1.3. d(x/l) = ......เเลมด้า

3.1.3.2. ช่องคู่

3.1.3.2.1. N(node)ลงครึ่ง ex.0.5,1.5

3.1.3.2.2. A(antinode) ลงตัว ex. 1,2,3

3.1.3.3. ช่องเดียว

3.1.3.3.1. N(node)ลงตัว ex. 1,2,3

3.1.3.3.2. A(antinode)ลงครึ่ง ex. 1.5,2.5

3.1.4. เสี้ยวเบน

3.1.4.1. การที่คลื่นสามารถไปด้านหลังสิ่งกีดขวางได้

3.1.4.2. หลักของฮอยเกนส์

3.1.4.2.1. ทุกๆจุดบนหน้าคลื่นสามารถทำตัวเป็นเเหล่งกำเนิดคลื่นใหม่ให้กำเนิดคลื่นเคลื่อนที่ไปทุกทิศทางด้วยอัตราเร็วคงที่

3.2. สมบัติของอนุภาค

3.2.1. สะท้อน

3.2.2. หักเห

3.3. สมบัติที่ทำให้คลื่นเปลี่ยนทิศการเคลื่อนที่ได้

3.3.1. สะท้อน

3.3.2. หักเห

3.3.3. เลี้ยงเบน

3.4. โจทย์

3.4.1. ถ้าทราบระยะ s1p กับ s2p ให้หาจากสูตร |s1p-s2p| = ......เเบมด้า

3.4.2. ถ้าทราบมุมเซต้าที่เบนออกจากเเนวกลางใช้ dsin เซต้า =......เเบมด้า

3.4.3. ให้หา v เมื่อให้ระยะความยาวเเละจำนวน loopดังนั้นต้องหา เเลมด้า

3.4.4. ถ้าระยะทางที่เลนออกจากเเนวกลาง xเเละระยะห่าง L ให้ใช้สูตร d(x/L) = .... เเลมด้า

4. เเสงเเละการมองเห็น

4.1. สรุปสูตรการคำนวณกระจกเเละเลนส์

4.1.1. สูตรหลัก

4.1.1.1. 1/f = 1/s+1/s'

4.1.1.2. กำลังขยาย m = I/O = s'/s

4.1.2. สูตรลัด

4.1.2.1. m = f/(s-f)

4.1.2.2. m = (s'-f)/f

4.1.3. สำหรับกระจกนูนเเละกระจกเว้า

4.1.3.1. f = R/2

4.2. f = ระยะโฟกัส

4.3. s = ระยะวัตถุ

4.4. s' = ระยะภาพ

4.5. I = Image ขนาดภาพ

4.6. O = Object ขนาดวัตถุ

4.7. การเกิดภาพของกระจด

4.7.1. การสะท้อนของเเสงผ่านกระจกเว้าเเละกระจกนูน

4.7.1.1. กระจกเว้าเเละกระจกนูนเกิดได้ทั้งภาพจริงเเละเสมือน ถ้าภาพจริงมีทั้งเล็กกว่า เเละใหญ่กว่าวัตถุ (ถ้าภาพเสมือนมีเเต่ขนาดใหญ่กว่า)

4.7.1.2. กระจกนูนเเละเลนส์เว้าเกิดเเต่ภาะเสมือน , ขนาดย่อ , ในระยะโฟกัส

4.7.2. การหักเหของเเสงผ่านเลนส์เว้าเเละเลนส์นูน

4.7.2.1. กระจกเว้าใช้จุด c เป็นหลัก , ถ้าวัตถุไกล เลยจุด c จะเกิดภาพใกล้ (ถ้าวัตถุอยู่ใกล้ จะเกิดภาพไกล)

4.7.2.2. เลนส์นูนใช้จุด 2F เป็นหลัก วัตถุที่จุด 2F เกิดภาพมี่ 2F (ถ้าวัตถุไกลเลย 2F ,เกิดภาพใกล้ ถ้าวัตถุอยู่ใน 2F เกิดภาพไกล)

4.8. การหักเห

4.8.1. การที่เเสงเปลี่ยน ความเร็วเเบะความยาว เมื่อเคลื่อที่ในตัวกลางต่างชนิดกัน เเต่ความถี่คงที่

4.8.2. เมื่อเเสงเคลื่อนที่จากตัวกลาง 1 เข้าสู่ตัวกลาง 2 เขียนว่า 1n2 อ่านว่าดรรชนีหักเหของตัวกลาง 2 เทียบกับตัวกลางที่ 1

4.8.3. สูตร

4.8.3.1. 1n2 = sin เซต้า1/sinเซต้า2 = v1/v2 = เเลมด้่1/เเลมด้า2 = n2/n1

4.9. มุมวิกฤตเเละการสะท้อนกลับหมด

4.9.1. เมื่อเเสงเดินทางจากตัวกลางที่มี n มากเข้าสู่ตัวกลางที่มี n น้อย รังสีจะเบนออกเส้นเเนวฉาก

4.9.2. มุมวิกฤต

4.9.2.1. เซต้าซี

4.9.2.2. มุมตกกระทบที่ทำให้มุมหักเหเป็น 90 องศา

4.9.2.3. สูตร

4.9.2.3.1. n1simเซต้าซี = n1sin 90

4.9.3. ถ้าไม่กำหนดว่าออกสู่ตัวกลางไหน ให้หมายถึงออกสํ่อากาศ n = 1

4.10. การหาลึกจรืง,ลึกปรากฎ

4.10.1. สูตร

4.10.1.1. nวัตถุ/nตา = ลึกจริง/ลึกปรากฎ

4.11. โจทย์

4.11.1. ให้ s,s' หา f

4.11.2. ให้ f s หา m

4.11.3. ให้ s' R หา s

4.11.4. ให้ y s หา y'

4.11.5. ให้ v1 v2 เเลมด้า 2 หา เเลมด้า 1

4.11.6. ให้ลึกจริง n1 n2 หา บึกปรากฎ