Get Started. It's Free
or sign up with your email address
Physics by Mind Map: Physics

1. เสียงและการได้ยิน

1.1. โจทย์

1.1.1. ถ้าโจทย์ให้คาบกับความเร็วมา ให้หาระยะทาง

1.1.2. ถ้าให้ความเร็วกับความยาวคลื่นมา ให้หาความถี่

1.1.3. ถ้าให้อุณหภูมิมา หาความเร็วได้จากสูตร Vt=331+0.6t

1.1.4. ถ้าถามความถี่บีตส์ต้องรู้ความถี่จากต้นกำเนิดสองที่จากสูตร Fb=|f,-f,,|

1.2. การสั่นพ้อง

1.2.1. การที่มีแรงมากระทำวัตถุสั่นด้วย f เท่ากับ f ธรรมชาติของวัตถุนั้นทำให้วัตถุสั่นแรงขึ้น

1.2.2. ปลายปิด

1.2.2.1. New node

1.2.3. ปลายเปิด

1.3. สูตรหาความเร็วเสียงเมื่ออุณหภูมิไม่เกิน 45'C คือ Vt=331+0.6t

1.4. บีตส์

1.4.1. ความถี่บีตส์ = |f,-f,,|

1.4.2. ความถี่เสียงบีตส์ที่เราได้ยิน =(f,+f,,)/2

1.5. ความเร็วเสียง

1.5.1. v=s/t

1.5.2. v=f(ramda)

1.6. ความเข้มเสียง

1.6.1. l=P/A

1.6.2. l=P/[4(pie)(RคูณR)]

1.7. ระดับความเข้มเสียง

1.7.1. a=l/l,(เบล)

1.7.2. (เบต้า)=10logl/l, (เดซิเบล)

1.8. รู้ใช้ว่า....

1.8.1. เสียงที่คนฟังได้f=20-20000 Hz

1.8.2. ระดับความเข้ม 0.120 เดซิเบล

1.8.3. ความเข้มสัมพันธ์=1.10^12

1.9. ความถี่มูลฐาน

1.9.1. ท่อปลายปิด

1.9.1.1. Harmonic เป็นเลขคี่f,3f,5f, ...

1.9.2. ท่อปลายเปิด

1.9.2.1. Harmonic เป็นเลขเรียง f,2f,3f,...

1.10. ปรากฎการณ์ดอปเปอร์

1.10.1. เป็นปรากฎการณ์ที่ผู้ฟังจะได้ยินเสียงที่มีความถี่เปลี่ยนไปจากความถี่จริง

1.10.2. การคำนวณ

1.10.2.1. การเคลื่อนที่ของผู้ฟังไม่เกี่ยวข้องกับความยาวคลื่นเสียง

1.10.2.2. เมื่อแหล่งกำเนิดเคลื่อนที่

1.10.2.2.1. (แรมด้า) หน้ารถจะสั้นลง

1.10.2.2.2. (แรมด้า) หลังรถจะยาวขึ้น

1.10.2.3. fปรากฎการณ์=f0((u-vL)/(u-vS)#ความเร็วใดมีทิศตรงข้ามกับเวกเตอร์(จาก S ไป L)ต้องเป็นลบ

1.11. คลื่นกระแทก/กรวยเสียง

1.11.1. Sin(ซีต้า)=u/vS

1.11.2. เลขมัด=ความเร็วแหล่งกำเนิด/ความเร็วเสียง

1.11.3. ความเร็ววัตถุเคลื่อนที่เร็วกว่าความเร็วแสง

2. คลื่นกล

2.1. สมบัติของคลื่น

2.1.1. สะท้อน

2.1.1.1. ปลายปิด

2.1.1.1.1. เฟสตรงข้ามเดิม

2.1.1.2. ปลายเปิด

2.1.1.2.1. เฟสเหมือนเดิม

2.1.1.3. กฎการสะท้อน

2.1.1.3.1. มุมตกกระทบ=มุมสะท้อน

2.1.1.3.2. รังสีตกกระทบ รังสีสะท้อนและเส้นแนวฉากต้องอยู่บนะนาบเดียวกัน

2.1.2. หักเห

2.1.2.1. นำ้ลึก

2.1.2.2. นำ้ตื้น

2.1.2.2.1. v น้อย

2.1.2.2.2. แรมด้า น้อย

2.1.2.2.3. ซีต้า เล็ก

2.1.2.3. มุท(ซีต้า) วัดได้จาก

2.1.2.3.1. รังสีเท่ากับคลื่นแนวฉาก

2.1.2.3.2. หน้าเคลื่อนทำกับแนวรอยต่อของตัวกลาง

2.1.3. เลี้ยวแบน

2.1.3.1. การที่คลื่นเคลื่อนที่ไปหลังวัตถุได้

2.1.3.2. หลักฮอยเกนส์

2.1.3.2.1. ทุกจุดบนหน้าคลื่นเป็นแหล่งกำเนิดคลื่นใหม่ทำให้ v เท่าเดิม

2.1.4. แทรกสอด

2.1.4.1. ช่องคู่

2.1.4.1.1. A ลงตัว

2.1.4.1.2. N ลงครึ่ง

2.1.4.2. ช่องเดี่ยว

2.1.4.2.1. N ลงตัว

2.1.4.2.2. A ลงครึ่ง

2.1.4.3. สูตร

2.1.4.3.1. S,P-S,,,n(แรมด้า)

2.1.4.3.2. dsin(ซีต้า)=n(แรมด้า)

2.1.4.3.3. d(X/L)=n(แรมด้า)

2.2. สมบัติอนุภาค

2.2.1. สะท้อน

2.2.2. หักเห

2.3. โจทย์

2.3.1. ถ้ารู้ระยะทางS,P และS,,Pให้ใช้สูตรS,P=S,,P=n(แรมด้า)

2.3.2. ถ้ารู้มุม (ซีต้า) ที่เบนจากแนวกลางให้ใช้สูตร dsin(ซีต้า)=n(แรมด้า)

2.3.3. ให้หา v ให้ระยะความยาวและจำนวน loop ดังนั้นต้องหา (แรมด้า)

3. แสง

3.1. สูตร

3.1.1. สูตรลัด

3.1.1.1. m=f/(s-f)

3.1.1.2. m=(s'-f)/f

3.1.2. สูตรหลัก

3.1.2.1. 1/f=1/s+1/s'

3.1.2.2. m=l/O=s'/s

3.1.3. สูตรกระจก

3.1.3.1. f=R/2

3.2. การเกิดภาพกระจกเว้า,เลนส์นูน

3.2.1. การสะท้อน

3.2.1.1. ภาพจริง เล็ก,ใหญ่กว่าวัตถุ

3.2.1.2. ภาพเสมือนจะใหญ่กว่าวัตถุ

3.3. การเกิดภาพกระจกนูน,เลนส์เว้า

3.3.1. การสะท้อน

3.3.1.1. เกิดภาพเสมือน,ขนาดย่อ ในระยะโฟกัส

3.4. การหักเห

3.4.1. ลึกจริง/ลึกปรากฎ=nวัตถุ/nตา

3.4.2. สูตร

3.4.2.1. n,v,=n,,v,,

3.4.2.2. n,sin(ซีต้า),=n,,sin(ซีต้า),,

3.4.2.3. n,(แรมด้า),=n,,(แรมด้า),,

3.5. มุมวิกฤต

3.5.1. คือ มุมตกกระทบที่ทำให้มุมหักเหเป็น 90องศา

3.5.2. สามารถนำหลักการไปใช้ในเส้นใยนำแสง

3.6. ทัศนอุปกรณ์

3.6.1. แว่นขยาย

3.6.1.1. เป็นเลนส์นูนอันเดียว

3.6.1.2. ต้องวางในระยะโฟกัสของเลนส์

3.6.2. กล้องถ่ายรูป

3.6.2.1. เป็นเลนส์นูนอันเดียว

3.6.2.2. วางวัตถุนอก 2F ของเลนส์

3.7. แสงสีและสารสี

3.7.1. แสงสี

3.7.1.1. แม่สี:แดง เขียว นำ้เงิน

3.7.1.2. ทุกสีรวมกันได้สีขาว

3.7.2. สารสี

3.7.2.1. แม่สี:เหลือง แดงม่วง นำ้เงินเขียว

3.7.2.2. ทุกสีรวมกันได้สีแดง