ฟิสิกส์ ม.4 เทอม 1
by Siripat Noynart
1. หน่วยวัด SI
1.1. ฐาน
1.1.1. กิโลกรัม kg
1.1.2. วินาที s
1.1.3. เมตร m
1.1.4. แอมแปร์ A
1.1.5. เคลวิน K
1.1.6. โมล mol
1.1.7. แคนเดลา cd
1.2. อนุพันธ์
1.2.1. นิวตัน N
1.2.1.1. Destinations
1.2.2. จูล J
1.2.2.1. Destinations
1.2.2.2. Destinations
1.2.3. วัตต์ W
1.2.4. คูลอมบ์ c
1.2.5. โอห์ม
1.2.6. โวลต์ v
1.2.7. ปาสคาล Pa
1.2.8. ลักซ์ lux
1.2.8.1. Destinations
2. เลขนัยสำคัญ เลข 0 ทางซ้ายจะไม่นับ
2.1. บวก-ลบ ตอบตามทศนิยมหลักที่น้อยที่สุด
2.2. คูณ-หาร ตอบตามจำนวนเลขนัยสำคัญที่น้อยที่สุด
3. Projectile เป็นการเคลื่อนที่ 2 มิติ มีการเคลื่อนที่แนวดิ่งและแนวราบพร้อมกัน หลักการ คือ หา Ux Uy โดย Ux คงที่ เวลาแนวราบ=แนวดิ่ง
3.1. แกน X Uy=0 Ux=Vx Fx=0 ax=0 Vx คงที่ Sx=Vxt
3.2. แกน Y y=0 Vy=Ux Fy=mg ay=g
4. การเคลื่อนที่แนวเส้นตรง เช่น การยิงจรวดและตกลงพื้น โยนของลงตึก การขับรถตามกัน หาระยะทางวิ่งทั้งหมด หาความสูงที่วัตถุพบกัน
4.1. v=u+at S=(u+v)/2*t S=ut+1/2at^2 v^2=u^2+2as v=S/t
5. ปริมาณทางฟิสิกส์
5.1. สเกลาร์ : ระบุเพียงขนาด การคำนวณใช้พีชคณิต
5.2. เวกเตอร์ : ระบุทั้งขนาดและทิศทาง การคำนวณใช้เลขาคณิต
6. การแตกแรง แตกเข้ามุมใช้ cos แตกออกจากมุมใช้ sin
7. กฎของนิวตัน
7.1. 1.กฎข้อที่ 1 กฎของความเฉื่อย (Inertia) "วัตถุที่หยุดนิ่งจะพยายามหยุดนิ่งอยู่กับที่ ตราบที่ไม่มีแรงภายนอกมากระทำ ส่วนวัตถุที่เคลื่อนที่จะเคลื่อนที่เป็นเส้นตรงด้วยความเร็วคงที่ ตราบที่ไม่มีแรงภายนอกมากระทำเช่นกัน"
7.2. 2.กฎข้อที่ 2 กฎของแรง (Force) “ความเร่งของวัตถุจะแปรผันตามแรงที่กระทำต่อวัตถุ แต่จะแปรผกผันกับมวลของวัตถุ” ความเร่งของวัตถุ = แรงที่กระทำต่อวัตถุ / มวลของวัตถุ (หรือ a = F/m)
7.3. 3.กฎข้อที่ 3 กฎของแรงปฏิกิริยา “แรงที่วัตถุที่หนึ่งกระทำต่อวัตถุที่สอง ย่อมเท่ากับ แรงที่วัตถุที่สองกระทำต่อวัตถุที่หนึ่ง แต่ทิศทางตรงข้ามกัน” (Action = Reaction)