หลักภาษาไทย

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
หลักภาษาไทย by Mind Map: หลักภาษาไทย

1. 1. เสียงในภาษาไทย

1.1. 1. อักษรควบ – อักษรนำ

1.1.1. อักษรควบ

1.1.1.1. -ควบไม่แท้ออกเสียงพยัญชนะต้นตัวแรกตัวเดียว

1.1.1.2. -ควบแท้ ออกเสียงพยัญชนะต้นทั้ง 2 เสียง

1.1.2. อักษรนำ

1.2. 2.เสียงพยัญชนะต้น

1.2.1. 1. เสียงพยัญชนะเดี่ยว

1.2.2. 2.เสียงพยัญชนะประสม

1.3. 3.เสียงพยัญชนะตัวสะกด (พยัญชนะท้าย)

1.4. 4.เสียงสระ

1.4.1. 1. เสียงสระสั้น-ยาว

1.4.2. 2. เสียงสระประสม-สระเดี่ยว

1.5. 5.เสียงวรรณยุกต์

1.6. 6.พยางค์

1.6.1. - พยางค์เปิด

1.6.2. - พยางค์ปิด

2. 4. ชนิดของคำไทย

2.1. 1. คำนาม

2.1.1. หน้าที่ของคำนาม

2.1.1.1. ทำหน้าที่เป็นประธานของประโยค

2.1.1.2. ทำหน้าที่เป็นกรรมของประโยค

2.1.1.3. ทำหน้าที่เป็นส่วนขยายคำนามอื่น

2.1.1.4. ทำหน้าที่ขยายคำกริยา

2.1.1.5. ทำหน้าที่เป็นส่วนเติมเต็มของคำกริยาบางคำ

2.1.1.6. ทำหน้าที่เป็นคำเรียกขาน

2.1.2. ประเภทของคำนาม

2.1.2.1. สามานยนาม

2.1.2.2. วิสามานยนาม

2.1.2.3. ลักษณนาม

2.1.2.4. สมุหนาม

2.1.2.5. อาการนาม

2.2. 2.คำสรรพนาม

2.2.1. ประเภทของคำสรรพนาม

2.2.1.1. ประพันธสรรพนาม

2.2.1.2. อนิยมสรรพนาม

2.2.1.3. นิยมสรรพนาม

2.2.1.4. ปฤจฉาสรรพนาม

2.2.1.5. วิภาคสรรพนาม

2.2.1.6. บุรุษสรรพนาม

2.2.2. หน้าที่ของคำสรรพนาม

2.2.2.1. ใช้เป็นประธานของประโยค

2.2.2.2. ใช้เป็นกรรมของประโยค

2.2.2.3. เป็นผู้รับใช้

2.2.2.4. เป็นส่วนสมบูรณ์หรือส่วนเติมเต็ม

2.2.2.5. ใช้เชื่อมประโยค

2.3. 3. คำกริยา

2.3.1. ชนิดของคำกริยา

2.3.1.1. อกรรมกริยา

2.3.1.2. สกรรมกริยา

2.3.1.3. วิกตรรถกริยา

2.3.1.4. กริยานุเคราะห์

2.3.1.5. กริยาสภาวมาลา

2.3.2. หน้าที่ของกริยา

2.3.2.1. คำกริยาทำหน้าที่เป็นส่วนขยายคำนาม

2.3.2.2. ทำหน้าที่เป็นกริยาสภาวมาลาเป็นประธานกรรมหรือบทขยาย

2.4. 4. คำวิเศษณ์

2.4.1. . คำวิเศษณ์บอกลักษณะ (ลักษณวิเศษณ์)

2.4.2. คำวิเศษณ์บอกเวลา (กาลวิเศษณ์)

2.4.3. . คำวิเศษณ์บอกสถานที่ (สถานวิเศษณ์)

2.4.4. คำวิเศษณ์บอกปริมาณหรือจำนวน (ประมาณวิเศษณ์)

2.4.5. คำวิเศษณ์บอกความชี้เฉพาะ (นิยมวิเศษณ์)

2.4.6. คำวิเศษณ์บอกความไม่ชี้เฉพาะ (อนิยมวิเศษณ์)

2.4.7. คำวิเศษณ์แสดงคำถาม (ปฤจฉาวิเศษณ์)

2.4.8. คำวิเศษณ์แสดงคำขานรับ (ประติชญาวิเศษณ์)

2.5. 5. คำบุพบท

2.5.1. หน้าที่ในการแสดงความสัมพันธ์ของคำบุพบท

2.5.1.1. แสดงความสัมพันธ์เกี่ยวกับสถานที่

2.5.1.2. แสดงความสัมพันธ์เกี่ยวกับเวลา

2.5.1.3. แสดงความสัมพันธ์เกี่ยวกับการเป็นเจ้าของ

2.5.2. ชนิดของคำบุพบท

2.5.2.1. 1.คำบุพบทที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างคำต่อคำ

2.5.2.2. 2. คำบุพบทที่ไม่มีความสัมพันธ์กับคำอื่น

2.6. 6. คำสันธาน

2.6.1. ชนิดของคำสันธาน

2.6.1.1. เชื่อมใจความที่คล้อยตามกัน

2.6.1.2. เชื่อมใจความที่เป็นเหตุเป็นผลกัน

2.6.1.3. เชื่อมใจความที่ขัดแย้ง

2.6.2. หน้าที่ของคำสันธาน

2.6.2.1. เชื่อมคำกับคำ

2.6.2.2. เชื่อมความให้สละสลวย

2.6.2.3. เชื่อมประโยคกับประโยค

2.7. 7. คำอุทาน

2.7.1. อุทานบอกอาการ

2.7.2. คำอุทานเสริมบท

3. 2.คำครุ-ลหุ

3.1. คำครุ

3.2. คำลหุ

4. 3. การสร้างคำในภาษาไทย

4.1. การสมาส

4.1.1. ลักษณะของคำสมาส

4.1.1.1. 1. คำสมาส จะต้องเป็นคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตมาสมาสกัน

4.1.1.2. 2. เมื่ออ่านคำสมาส จะต้องอ่านให้มีเสียงสระเชื่อมติดกันระหว่างคำหน้ากับคำหลัง

4.1.1.3. 3. ระหว่างคำสมาสไม่ใช้เครื่องหมายทัณฑฆาต

4.1.2. วิธีการสร้างคำตามวิธีการสมาสของคำบาลี สันกฤต

4.1.2.1. 1. วิธีลบวิภัตติ

4.1.2.2. 2. วิธีคงวิภัตติไว้

4.1.3. การสมาสในภาษาไทย

4.1.3.1. เมื่อไทยนำคำบาลี-สันสกฤตเข้ามาสมาสเราก็จะนำเรียงคำเข้าด้วยกัน คือ นำคำขยายมาไว้ข้างหน้าและอ่านออกเสียงต่อเนื่องกัน

4.2. การสนธิ

4.2.1. 1. สระสนธิ

4.2.2. 2. พยัญชนะสนธิ

4.2.3. 3. นิคหิตสนธิ ( หรือนิคหิตสนธิ )

4.3. การประสมคำ

4.3.1. ลักษณะทางความหมายเมื่อนำคำมาประสมกัน

4.3.1.1. คำประสมที่มีความหมายตรง

4.3.1.2. คำประสมที่มีความหมายโดยนัย

4.3.2. วิธีการสร้างคำประสม

4.3.2.1. 1.คำประสมที่นำคำมูลมาประสมกันแล้วมีความหมายเป็นอีกอย่างหนึ่ง แต่ยังคงเค้าความหมายเดิมของคำมูลอยู่

4.3.2.2. 2.คำประสมที่นำคำมูลมาประสมกันแล้วมีความหมายเปลี่ยนไปจากเดิม

4.3.2.3. 3.นำคำที่ไม่สามารถปรากฏตามอิสระได้เป็นคำตั้งประสมกับคำที่สามารถปรากฏตามอิสระได้

4.3.2.4. 4. คำไทยแท้ประสมคำบาลีสันสกฤต

4.4. การซ้อนคำ

4.4.1. 1. คำซ้อนเพื่อความหมาย

4.4.1.1. 1.1 คำไทยซ้อนกับคำไทย

4.4.1.2. 1.2 คำไทยซ้อนกับคำไทยถิ่น

4.4.1.3. 1.3 คำไทยซ้อนกับคำต่างประเทศ

4.4.1.4. 1.4 คำต่างประเทศซ้อนคำต่างประเทศ เป็นการนำคำบาลีซ้อนคำสันสกฤตหรือคำเขมรซ้อนคำเขมร

4.4.2. 2. คำซ้อนเพื่อเสียง

4.4.2.1. 1.แต่ละพยางค์มีเสียงพยัญชนะต้นเหมือนกัน ต่างกันที่เสียงสระ

4.4.2.2. 2.แต่ละพยางค์มีเสียงพยัญชนะต้นและพยัญชนะสะกดเหมือนกัน ต่างกันที่เสียงสระ

4.4.2.3. 3.แต่ละพยางค์มีเสียงพยัญชนะต้นและเสียงสระเหมือนกัน ต่างกันที่เสียงพยัญชนะสะกด

4.4.2.4. 4. แต่ละพยางค์มีเสียงพยัญชนะต้นเหมือนกัน ต่างกันทั้งเสียงสระและพยัญชนะสะกด โดยมีพยัญชนะสะกดหรือไม่มีก็ได้