Get Started. It's Free
or sign up with your email address
คีตกวี207 by Mind Map: คีตกวี207

1. 1 หลังจากที่ทรงเข้าศึกษาในระดับอุดมศึกษา ณ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พระองค์ทรงเข้าร่วมชมรมดนตรีไทยของสโมรสรนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะอักษรศาสตร์ โดยทรงเล่นซอด้วงเป็นหลักและทรงเริ่มหัดเล่นเครื่องดนตรีไทยชิ้นอื่น ๆ ด้วย

2. เป็นพระอาจารย์สอนดนตรีแด่พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมีพระปรีชาสามารถพระราชนิพนธ์เพลงได้เองคือเพลง"คลื่นกระทบฝั่งโหมโรง""เขมรละออองค์"และ"ราตรีประดับดาวเถา"

3. มีการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ใน2475 ซึ่งเรียกว่า "รัฐนิยม"ช่วงนี้สามารถเรียกได้เลยว่าเป็นช่วงห้วเลี้ยวหัวต่อของดนตรีไทยเพราะมี นโยบายกระทบต่อ ดนตรีไทย คือ ห้ามบรรเลงดนตรีไทยใดๆเลยเพราะไม่สอดคล้องกับการพัฒนาประเทศให้ทัดเทียมกับอารยประเทศแล้วถ้าใครจะจัดจะต้องได้รับอนุญาติ และ นักดนตรีไทยต้องมีบัตรที่ออกโดยราชการ

4. เพลงสามชั้น

4.1. เพลงเหาะ

4.2. เพลงขับนก

4.3. เพลงเทพนม

5. หลวงประดิษฐ์ไพเราะ

5.1. ประวัติ

5.1.1. หลวงประดิษฐไพเราะ มีนามเดิมว่าสอน หรือศร

5.1.2. เกิดเมื่อวันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2424

5.1.3. เป็นบุตรของ นายสิน นางยิ้ม ศิลปบรรเลง

5.1.4. บิดาของท่านคือครูสินเป็นเจ้าของวงปี่พาทย์ และเป็นศิษย์ของ พระประดิษฐไพเราะ (มี ดุริยางกูร)

5.2. ผลงานที่โดดเด่น

5.2.1. นำเครื่องดนตรีชวาคือ"อังกะลุง"เข้ามาและได้แก้ไขจนเป็นแบบไทย

5.2.1.1. ข้อมูลส่วนพระองค์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชสมภพ เมื่อวันเสาร์ที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2498 ณ พระที่นั่งอัมพรสถาน พระราชวังดุสิต พระองค์มีพระปรีชาสามารถในหลาย ๆ ด้าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งทางด้านอักษรศาสตร์และดนตรีไทย ซึ่งพระองค์ได้นำมาใช้ในการอนุรักษ์ ส่งเสริม และให้การอุปถัมภ์ในด้านศิลปวัฒนธรรมของประเทศ จากพระราชกรณียกิจในด้านศิลปวัฒนธรรมนี้ พระองค์จึงได้รับการทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายพระสมัญญาว่า “เอกอัครราชูปถัมภกมรดกวัฒนธรรมไทย” และ “วิศิษฏศิลปิน” นอกจากนี้ พระองค์ยังทรงประกอบพระราชกรณียกิจในด้านต่างๆ พระองค์ทรงเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านดนตรีไทยผู้หนึ่ง โดยทรงเครื่องดนตรีไทยได้ทุกชนิด แต่ที่โปรดทรงอยู่ประจำ คือ ระนาด ซอ และฆ้องวง โดยเฉพาะระนาดเอก พระองค์ทรงเริ่มหัดดนตรีไทย ในขณะที่ทรงศึกษาอยู่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนจิตรลดา โดยทรงเลือกหัดซอด้วงเป็นเครื่องดนตรีชิ้นแรก และได้ทรงดนตรีไทยในงานปิดภาคเรียนของโรงเรียน รวมทั้ง งานวันคืนสู่เหย้าร่วมกับวงดนตรีจิตรลดาของโรงเรียนจิตรลดาด้วย หลังจากที่ทรงเข้าศึกษาในระดับอุดมศึกษา ณ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พระองค์ทรงเข้าร่วมชมรมดนตรีไทยของสโมรสรนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะอักษรศาสตร์ โดยทรงเล่นซอด้วงเป็นหลัก และทรงเริ่มหัดเล่นเครื่องดนตรีไทยชิ้นอื่นๆ ด้วย

5.2.1.1.1. ประวัติโดยย่อ

5.2.2. สอนดนตรีไทยในพระราชสำนักเมืองกัมพูชาและได้นำเพลงเขมรมาทำเป็นเพลงไทยหลายเพลง

5.2.3. ต้นตำรับการแต่งเพลงและบรรเลงเพลง 4 ชั้น

5.2.4. ท่านเป็นที่จะกวีในสมัยรัชกาลที่ 6 ถึงรัชกาลที่ 7 ซึ่งนับได้ว่าเป็นดวงประทีปทางดนตรีไทยที่ใหญ่ที่สุดในยุคที่ดนตรีไทยเฟื่องฟูที่สุดอีกด้วย

5.2.5. ต้นตำรับเพลงทางเปลี่ยนคือเพลงเดียวกันแต่บรรเลงไม่ซ้ำกันในแต่ละเที่ยว

5.2.6. ประดิษฐ์วิธีบรรเลงดนตรี"ทางกรอ"ขึ้นใหม่ในเพลง"เขมรเรียบพระนครสามชั้น"เป็นผลให้ได้รับพระราชทานเหรียญรุติทอง รัชกาลที่ 5 และรัชกาลที่ 6

5.2.7. คิดโน้ตตัวเลขสำหรับเครื่องดนตรีไทยซึ่งได้ใช้มานานจนถึงทุกวันนี้

5.3. บทบาทและสถานะทางสังคม

5.3.1. เป็นศิลปินชาวไทยที่มีชื่อเสียงจากการเล่นเครื่องดนตรีไทย

5.3.2. เป็นผู้ประพันธ์เพลงไทยเดิมและเป็นที่รู้จักกันในวงการดนตรีว่า "ครูจางวางศร"

5.3.3. เป็นศิษย์เอก 1 ใน 2คนของ พระประดิษฐ์ไพเราะ(มี ดุริยางกูร)

5.4. เหตุการณ์สำคัญทางดนตรีที่เกิดขึ้น

5.4.1. มีการสอนดนตรีให้กับพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว

5.4.2. มีการนำเพลงของชวามาปรับปรุงเป็นเพลงไทย เช่น เพลงบูเซนซอก เพลงยะวา

5.4.3. มีการนำเครื่องดนตรีเขย่ากระบอกไม้ไผ่ของชวามาปรับปรุงใช้ในเมืองไทย คือ อังกะลุง

5.4.4. มีการประดิษฐ์เพลงไทยสำเนียงเขมร เนื่องจากหลวงประดิษฐ์ไพเราะได้ตามเสด็จล้นเกล้ารัชกาลที่ 7ครั้งเสด็จประพาสอินโดจีนทรงโปรดเกล้าให้พำนักอยู่ที่เขมรระยะหนึ่งเพื่อช่วยสอนและปรับวงให้กับวงดนตรีแห่งราชสำนักของพระเจ้ามณีวงศ์ที่กรุงพนมเปญ

5.4.5. มีการบันทึกเพลงไทยเป็นโน้ตสากลโดยมีพระเจนดุริยางค์ (ปิติ วาทยกร) รับผิดชอบงานบันทึกโน้ตหลวงประดิษฐ์ ไพเราะเป็นผู้บอกทางเพลง

5.4.6. มีการประดิษฐ์วิธีการเล่นระนาดขึ้นมาใหม่ เช่น พัฒนาวิธีการจับไม้ระนาดเพื่อตีให้ได้เสียงต่างกัน แต่เดิมนั้นมีการจับไม้ระนาดแบบปากนกแก้วอย่างเดียว เเต่มีการพลิกแพลงเป็นการจับไม้แบบปากกา หรือแบบปากไก่

6. นายมนตรี ตราโมท

6.1. ผลงาน

6.1.1. 2.เพลงเถา

6.1.1.1. เพลงกล่อมนารี

6.1.1.2. เพลงขึ้นแท่น

6.2. ประวัติ

6.2.1. เกิด 17 มิถุนายน

6.2.2. ชื่อเดิม บุญธรรม

6.2.3. นายมนตรแตี งงานกับภรรยาคนแรกชื่อ ลิ้นจี่ บุรานนทเมื่อ พ.ศ. 2474 มีบุตร 2

6.2.3.1. บุตร นายฤทธีตราโมท และนายศิลปตราโมท

6.3. หนาที่การงาน

6.3.1. ครูพิเศษสอนวิชาดรุ ิยางคศิลปไทยกับคีตศิลปไทยทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัต

6.3.2. ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯแตงตั้งเปนราชบัณฑิตในประเภทวจิิตรศิลป สํานักศิลปกรรมตามประกาศสํานักนายกรฐมนตร ั ีลงวันที่ 23 มิถุนายน 2524

6.3.3. เป็นบุตรของนายยิ้ม นางทอง

6.4. เกียรติคุณที่ไดรับ

6.4.1. ไดรับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ

6.4.2. ไดรับพระราชทานปริญญาอักษรศาสตรดษฎุ ีบัณฑิตกตติ ิมศักดิ์จาก มหาวิทยาลัยศิลปากรเมื่อวันที่ 14 ตุลาคม 2523 (ประจําปการศึกษา 2522)

6.4.3. ไดรับพระราชทานปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิตกตติ ิมศักดิ์จากจฬาลงกรณ ุ  มหาวิทยาลัยเมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม 2524

6.5. รางวัลที่กวีเคยได้รับ

6.5.1. พนักงานใน กรมพิณพาทยหลวง  กรมมหรสพ

6.5.1.1. ตําแหนงศิลปนเอก

6.5.2. ได้รับรางวัลที่ ๑ เพลงนั้นชื่อว่า “เพลงวันชาติ” เมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๓ อันเป็นเพลงประจําวันที่ ๒๔ มิถุนายน วันเปลี่ยนแปลงการปกครอง

7. สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

7.1. ผลงานที่สำคัญ

7.1.1. พระองค์ทรงเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านดนตรีไทยโดยเฉพาะระนาดเอก

7.1.1.1. 2 ในด้านการขับร้อง พระองค์ทรงมีความสนพระทัยในด้านการขับร้องเพลงไทย โดยทรงเริ่มฝึกหัดการขับร้องด้วยพระองค์เองเมื่อครั้งยังทรงศึกษาอยู่ ณ โรงเรียนจิตรลดา[20] ทรงเริ่มต้นเรียนการขับร้องกับ เจริญใจ สุนทรวาทิน อาจารย์ประจำชมรมดนตรีไทย สโมสรนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และทรงพระราชนิพนธ์บทขับร้องเพลงไทยสำหรับพระราชทานให้แก่สถาบันการศึกษาและวงดนตรีไทยเพื่อนำไปบรรเลงและขับร้องเนื่องในโอกาสต่าง ๆ

7.1.1.2. นอกจากดนตรีไทยแล้ว พระองค์ยังทรงดนตรีสากลด้วย โดยทรงเริ่มเรียนเปียโนตั้งแต่พระชนมายุ 10 พรรษา แต่ได้ทรงเลิกเรียนหลังจากนั้น 2 ปี และทรงฝึกเครื่องดนตรีสากล ประเภทเครื่องเป่า จากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จนสามารถทรงทรัมเปตนำวงดุริยางค์ในงานคอนเสิร์ตสายใจไทย และทรงระนาดฝรั่งนำวงดุริยางค์ในงานกาชาดคอนเสิร์ต

7.1.1.3. 3 สมัยเมื่อทรงพระเยาว์นั้น เพลงลูกทุ่งกำลังเฟื่องฟูมาก และเพลงลูกทุ่งนั้น มีทำนองหลักไม่กี่รูปแบบ ทั้งส่วนมากยังได้เค้าเดิมมาจากดนตรีไทยแท้ ความคุ้นเคยกับทำนองเพลงไทยที่ได้จากเพลงลูกทุ่งก็เกิดตามมา ซอและขลุ่ยเป็นของเบา ใกล้พระหัตถ์จะทรงบรรเลงเมื่อใดก็ได้ และเมื่อจะทรงร้องก็ทรงร้องได้ง่าย การขับร้องเพลงไทยก็ติดตามมาอีก

7.2. บทบาท สถานะทางสังคม

7.2.1. พระองค์ทรงเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านดนตรีไทยผู้หนึ่ง โดยทรงเครื่องดนตรีไทยได้ทุกชนิด แต่ที่โปรดทรงอยู่ประจำ คือ ระนาด ซอ และฆ้องวง

7.2.1.1. โดยเฉพาะระนาดเอกพระองค์ทรงเริ่มหัดดนตรีไทย ในขณะที่ทรงศึกษาอยู่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนจิตรลดา โดยทรงเลือกหัดซอด้วงเป็นเครื่องดนตรีชิ้นแรกและได้ทรงดนตรีไทยในงานปิดภาคเรียนของโรงเรียน รวมทั้ง งานวันคืนสู่เหย้าร่วมกับวงดนตรีจิตรลดาของโรงเรียนจิตรลดาด้วย หลังจากที่ทรงเข้าศึกษาในระดับอุดมศึกษา ณ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พระองค์ทรงเข้าร่วมชมรมดนตรีไทยของสโมรสรนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะอักษรศาสตร์ โดยทรงเล่นซอด้วงเป็นหลักและทรงเริ่มหัดเล่นเครื่องดนตรีไทยชิ้นอื่น ๆ ด้วย

7.2.1.2. ในขณะที่ทรงพระเยาว์ เครื่องดนตรีที่ทรงสนพระทัยนั้น ได้แก่ ระนาดเอกและซอสามสายซึ่งพระองค์ทรงเริ่มเรียนระนาดเอกอย่างจริงจังเมื่อปี พ.ศ. 2528 หลังจากการเสด็จทรงดนตรีไทย ณ บ้านปลายเนิน ซึ่งเป็นวังของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ โดยมี สิริชัยชาญ พักจำรูญ เป็นอาจารย์ผู้ถวายการสอนพระองค์ทรงเริ่มเรียนตั้งแต่การจับไม้ระนาด การตีระนาดแบบต่าง ๆ และท่าที่ประทับขณะทรงระนาด และทรงเริ่มเรียนการตีระนาดตามแบบแผนโบราณ กล่าวคือ เริ่มต้นด้วยเพลงต้นเพลงฉิ่งสามชั้น แล้วจึงทรงต่อเพลงอื่น ๆ ตามมา ทรงทำการบ้านด้วยการไล่ระนาดทุกเช้า หลังจากบรรทมตื่นภายในห้องพระบรรทม จนกระทั่ง พ.ศ. 2529 พระองค์จึงทรงบรรเลงระนาดเอกร่วมกับครูอาวุโสของวงการดนตรีไทยหลายท่านต่อหน้าสาธารณชนเป็นครั้งแรก ในงานดนตรีไทยอุดมศึกษา ครั้งที่ 17 ณ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยเพลงที่ทรงบรรเลง คือ เพลงนกขมิ้น (เถา)

7.2.2. ในด้านการขับร้อง

7.3. พระองค์ทรงมีความสนพระทัยในด้านการขับร้องเพลงไทย โดยทรงเริ่มฝึกหัดการขับร้องด้วยพระองค์เองเมื่อครั้งยังทรงศึกษาอยู่ ณ โรงเรียนจิตรลดาทรงเริ่มต้นเรียนการขับร้องกับ เจริญใจ สุนทรวาทิน อาจารย์ประจำชมรมดนตรีไทย สโมสรนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และทรงพระราชนิพนธ์บทขับร้องเพลงไทยสำหรับพระราชทานให้แก่สถาบันการศึกษาและวงดนตรีไทยเพื่อนำไปบรรเลงและขับร้องเนื่องในโอกาสต่าง ๆ

7.4. เหตุการณ์สำคัญทางดนตรีไทยที่เกิดในช่วงเวลาของคีตกวีที่ศึกษา

7.4.1. สมัยรัชกาลที่ ๙

7.4.1.1. เกิดวงมหาดุริยางค์ไทย

7.4.1.1.1. ซึ่งเป็นการจัดประสมวงดนตรีขนาดใหญ่โดยรวมเครื่องดนตรีทั้งประเภทดีด สี ตี เป่า และเครื่องกำกับจังหวะ อย่างละนับเป็นสิบ ๆ เครื่องมือเข้าประสมวงกันเป็นวงดนตรีไทยเรือนร้อย โดยได้นำแบบอย่างมากจาก

7.4.1.2. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ได้ทรงเริ่มพระราชนิพนธ์เพลงไทยสากลและเพลงสากลขึ้นเพลงแรก คือ เพลงพระราชนิพนธ์ แสงเทียน และต่อมาก็ทรงพระราชนิพนธ์เพลงสายฝน และอีกมากมาย เช่น เพลงชะตาชีวิต เพลงใกล้รุ่ง เพลงคำหวาน เพลงดวงใจกับความรัก เพลงพระราชนิพนธ์เหล่านี้ผิดแผกแตกต่างไปจากเพลงที่นำประพันธ์เพลงไทยสากลยุคนั้น ได้ประพันธ์ขึ้นเป็นเพลงที่บรรเลงยาก ร้องยากที่สุด เพราะใช้โน้ตครึ่งเสียงและกุญแจเสียงไม่เจนกับหูคนไทยในยุคนั้น ในสมัยนี้ ได้มีผู้แต่งเพลงไทยสากลหลายท่าน า ได้ขยายวงกว้างเข้าไปอยู่ในสถานศึกษา เห็นได้จากสถาบันการศึกษาทั้งระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาและอุดมศึกษาได้ส่งเสริมให้นักเรียนและเยาวชนเล่นดนตรีไทยและขับร้องเพลงไทย โดยบรรจุวิชาดนตรีไว้ในหลักสูตรทุกระดับทั้งนี้ ด้วยพระบารมีของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้แผ่ปกคลุมเป็นร่มเกล้าแก่นักดนตรีไทย และเพลงไทยอย่างใหญ่หลวง ด้วยพระองค์ทรงโปรดเพลงไทยและดนตรีไทยเป็นอย่างยิ่ง

8. เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์

9. พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ร.7

9.1. ทรงเสด็จสวรรคต 30 พฤษภาคม พ.ศ.2484 ในขณะที่ทรงมีพระชนมายุได้ 47 พรรษา

9.2. ประวัติ

9.2.1. พระนามเดิม "พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปกเกล้าเจ้าอยู่หัว"

9.2.2. พระมหากษัตริย์ลำดับที่ 7เป็นพระราชโอรสองค์ที่7

9.2.3. ทรงขึ้นครองราชย์ 26 พฤศจิกายน พ.ศ.2468

9.2.4. ทรงอภิเษกสมรสกับ สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี (หม่อมเจ้าหญิงรำไพพรรณี สวัสดิวัฒร์)

9.2.5. ทรงไม่มีพระราชโอรสและพระราชธิดา เเต่มีพระราชโอรสบุญธรรม คือ พระวรวงศ์เธอ พระเจ้าจิรศักดิ์สุประภาต

9.2.6. ทรงสนพระทัยซออู้ ทรงมีซ้อประจำพระองค์เรียกว่า "ซอตู่"

9.3. สถานะทางสังคม

9.3.1. เมื่อวันที่ 4 มีนาคม 2448 พระองค์ทรงได้รับการสถาปนาเป็นเจ้าฟ้าต่างกรม

9.3.2. พระองค์เข้ารับราชการตำเเหน่งนายทหารคนสนิทพิเศษของ จอมพล สมเด็จพระอนุชาธิราชเจ้าฟ้ากรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ ต่อมาพระองค์ได้เลื่อนเป็นผู้บังคับร้อยกองทหารปีนใหญ่รักษาพระองค์และเป็นร้อยเอก

9.3.3. พระบรมราชินีและพระองค์ได้รับการยกย่องจากองค์กร ยูเนสโก(UNESCO) เป็บบุคคลสำคัญของโลกเมื่อวันที่8 พฤศจิกายน2536 เนื่องในวโรกาสฉลองวันพระราชสมภพครบ100ปี.

9.4. ด้านการปกครอง

9.4.1. มีพระราชปรารภจะพระราชทานรัฐธรรมนูญ แต่ถูกทักท้วงจากพระบรมวงศ์ชั้นผู้ใหญ่จึงระงับไปก่อน

9.4.2. ทรงแก้ไขกฎหมายองคมนตรี

9.5. ผลงานสำคัญ

9.5.1. ด้านทำนุบำรุงบ้านเมือง

9.5.1.1. สืบเนื่องด้วยสงครามโลกครั้งที่1 ทำให้ประสบปัญหาเศรษฐกิจตกต่ำ พระองค์ทรงพยายามแก้ไขปัญหาด้วยวิธีต่างๆ เช่น ควบคุมงบประมาณ ตัดทอนรายจ่าย

9.5.1.2. ปรับปรุงงานสุขาภิบาลทั่วอาณาจักรให้เท่าเทียมอารยประเทศ

9.5.2. ทรงได้พระราชนิพนธ์ทำนองเพลงไทยถึง 3 เพลง

9.5.2.1. 1.เพลงราตรีประดับดาวเถา

9.5.2.2. 2.เพลงเขมรลออองค์เถา

9.5.2.3. 3.เพลงโหมโรงคลื่นกระทบฝั่ง

9.5.3. ด้านดนตรี

9.5.3.1. เกิดเพลงสำหรับอังกะลุง และ เพลงทางเปลี่ยน

9.6. เหตุการณ์สำคัญทางดนตรีไทย

10. New Topic

11. New Topic

12. พระประดิษฐ์ไพเราะยังได้สมญานามว่าเป็นเจ้าแห่งเพลงทยอย

13. เกิดเมื่อวันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2458

14. ในปี พ.ศ. 2446 ตำแหน่งเจ้ากรมพิณพาทย์หลวงจึงโปรดให้เลื่อนเป็น "หลวงเสนาะดุริยางค์"

15. ทย์หลวงจึงโปรดให้เลื่ินเป็น "หลวงเสนาะดุริยางค์" ในปี พ.ศ. 2453 ในตำแหน่งเดิมจนถึงสมัย พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดให้เลื่อนเป็น "พระเสนาะดุริยางค์" รับราชการในกรมมหรสพหลวง และได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยา ด้วยความซื่อสัตย์ และมีความจงรักภักดี ท่านจึงได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น "พระยาเสนาะดุริยางค์" ในปี พ.ศ. 2468 ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ท่านได้รับมอบหมายให้ควบคุมวงพิณพาทย์ของเจ้าพระยาธรรมาธิกรณาธิบดี (ม.ร.ว. ป้ม มาลากุล) เสนาบดีกระทรวงวัง

16. พระประดิษฐ์ไพเราะ

16.1. ประวัติ

16.1.1. เกิดตอนปลายรัชกาลที่ 1 แห่งพระราชวงศ์จักรี

16.1.2. ท่านเป็นครูดนตรีมาตั้งแต่ปลายสมัยรัชกาลที่ 3 จนถึงรัชกาลที่ 4

16.1.3. ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น หลวงประดิษฐ์ไพเราะและได้เลื่อนขั้นเป็น พระประดิษฐ์ไพเราะในปีเดียวกัน

16.1.4. ครูปี่พาทย์ชื่อครูมีแขกนั้น คือเป็นเชื้อแขก

16.2. บทบาทสถานะทางสังคม

16.2.1. เป็นครูดนตรีมาตั้งแต่ปลายสมัยร.3-ร.4

16.2.2. ในสมัยร.4 นั้น ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น หลวงประดิษฐ์ไพเราะ อีกทั้งในปีเดียวกันท่านยังได้เลื่อนขั้นเป็น พระประดิษฐ์ไพเราะ

16.2.3. ในสมัยรัชกาลที่ 5 ได้เป็นครูมโหรีของกรมสมเด็จพระสุดารัตนราชประยูร

16.3. ผลงานเด่น

16.3.1. ทยอยนอก ทยอยเดี่ยว ทยอยเขมร

16.3.2. เชิดจีน

16.3.3. เทพรัญจวน หกบท สามชั้น

16.4. เหตุการณ์สำคัญ

16.4.1. ครูมีแขก ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นหลวงประดิษฐ์ไพเราะ

16.4.2. ปีเดียวกันท่านได้บรรเลงเพลงเชิดจีน ซึ่งแต่งไว้ถวายแด่พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าฯ และพระองค์ทรงโปรดปรานมาก ถึงกับได้เลื่อนบรรดาศักดิ์เป็น พระประดิษฐ์ไพเราะ

16.4.3. เป็นคีตกวีคนแรกที่นำเพลง 2 ชั้น มาทำเป็นเพลงสามชั้น

16.4.4. มีความสามารถในการแต่งเพลง และฝีมือในทางเป่าปี่ เป็นเยี่ยม โดยเฉพาะเพลงเด่นที่สุดคือ “ทยอยเดี่ยว” จนทำให้ท่านได้รัมสมญานามว่า “เจ้าแห่งเพลงทยอย”

16.4.5. ในสมัยรัชกาลที่ 5 ได้เป็นครูมโหรีของกรมสมเด็จพระสุดารัตนราชประยูร

17. นางเจริญใจ สุนทรวาทิน

17.1. ประวัติ

17.1.1. ครอบครัว

17.1.1.1. ชื่อเดิมคือ เจริญ

17.1.1.2. เป็นบุตรีคนสุดท้องของ

17.1.1.2.1. พระยาเสนาะดุริยางค์ (แช่ม สุนทรวาทิน)

17.1.1.2.2. คุณหญิงเสนาะดุริยางค์ (เรือน)

17.1.2. การศึกษา

17.1.2.1. วิชาสามัญที่โรงเรียนศึกษานารี

17.1.2.2. ย้ายไปโรงเรียนราชินีจนจบชั้น ม.4

17.1.3. พรสวรรค์ด้านดนตรี

17.1.3.1. ด้านการขับร้อง

17.1.3.2. บิดาสอนวิชาดนตรีให้

17.1.3.2.1. 3 เวลา

17.1.3.2.2. กลวิธีการขับร้อง

17.1.3.2.3. เครื่องดนตรีไทย

17.1.4. การทำงาน

17.1.4.1. สมัยรัชกาลที่ 6

17.1.4.1.1. ข้าหลวงเรือนนอก (ไป-กลับ)

17.1.4.1.2. ทำหน้าที่ขับร้อง

17.1.4.1.3. รับพระราชทาน เสมาทองคำ

17.1.4.2. สมัยรัชกาลที่ 7

17.1.4.2.1. ข้าหลวงในสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี

17.1.4.2.2. มีหน้าที่

17.1.4.2.3. รับพระราชทานเหรียญ รพ. ในสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี

17.1.4.3. สมัยรัชกาลที่ 8

17.1.4.3.1. โอนไปสังกัด

17.1.4.3.2. สอนดนตรี

17.1.4.3.3. เมื่อเกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 จึงออกจากราชการ

17.1.4.4. สมัยรัชกาลที่ 9

17.1.4.4.1. สอนดนตรีไทยที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

17.1.4.4.2. สอนดนตรีไทยให้แด่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารีเป็นการส่วนพระองค์

17.1.5. บั้นปลายชีวิต

17.1.5.1. เสียชีวิตวันที่ 10 เมษายน พ.ศ. 2554

17.1.5.2. โรคเส้นเลือดในสมองแตก

17.1.5.3. อายุรวม 95 ปี

17.2. สถานะทางสังคม

17.2.1. ได้รับการยกย่องเป็นสตรีดีเด่น ผู้ทำประโยชน์แก่ชาติฐานะศิลปินคนแรก เนื่องในปีสตรีสากล พ.ศ. 2518

17.2.2. ได้รับปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์

17.2.2.1. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

17.2.2.2. มหาดุริยางคศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

17.2.3. ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (คีตศิลป์)

17.3. ผลงานที่สำคัญ

17.3.1. การขับร้องเพลง

17.3.1.1. ละครดึกดำบรรพ์

17.3.1.2. ขับร้องบทเพลงพระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี

17.3.1.3. ควบคุมบทพระราชนิพนธ์เรื่อง "เงาะป่า" ในรัชกาลที่ 5

17.3.1.4. ฉันท์สดุดีสังเวยพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร

17.3.2. จัดทำผลงาน

17.3.2.1. เพลงสยามสำหรับเด็ก

17.3.2.2. เพลงเทศกาลสยาม

17.3.2.3. เพลงวันเกิด

17.3.2.4. ร่วมกับ

17.3.2.4.1. องค์การ UNICEF

17.3.2.4.2. ธนาคารกสิกรไทย

17.3.3. ตั้งวงดนตรีไทย

17.3.3.1. คณะ "เสนาะดุริยางค์"

17.3.3.2. คณะ "ฟังเพลินเจริญใจ"

17.3.4. เผยแพร่วัฒนธรรม

17.3.4.1. London, United Kingdom

17.3.4.2. New Topic

18. สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์

18.1. ประวัติทั่วไป

18.1.1. ประสูติ:28 เมษายน 2406

18.1.2. สิ้นพระชนม์:10 มีนาคม 2490

18.1.3. พระบิดา;พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

18.1.4. พระมารดา;พระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพรรณราย

18.1.5. พ.ศ. 2452 ทรงประชวรด้วยโรคพระหฤทัยโตขณะที่ทรงรับราชการตำแหน่งเสนาบดีกระทรวงวัง จึงได้ลาออกจากราชการ แต่พระองค์ก็ยังคงรับราชการส่วนพระองค์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยทรงออกแบบงานต่าง ๆ ตามพระราชประสงค์

18.1.6. พระนามเดิม;พระองค์เจ้าจิตรเจริญ

18.1.7. พระอิสริยยศ;สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอขั้น 4

18.1.8. ราชวงศ์;จักรี

18.2. พระประวัติ

18.2.1. พ.ศ. 2428 ได้รับการสถาปนาจาก รัชกาลที่ 5 ขึ้นเป็น พระองค์เจ้าต่างกรม มีพระนามจารึกในพระสุพรรณบัฏว่า พระเจ้าน้องยาเธอ กรมขุนนริศรานุวัติวงษ์ หลังจากที่พระองค์ได้รับราชการสนองพระเดชพระคุณในตำแหน่งต่างๆ

18.2.1.1. เสนาบดีกระทรวงศึกษาธิการ

18.2.1.2. เสนาบดีกระทรวงพระคลัง

18.2.1.3. เสนาบดีกระทรวงกลาโหม

18.2.1.4. ผู้บัญชาการกรมยุทธนาธิการ

18.2.1.5. ผู้บัญชาการกองทัพเรือ

18.2.2. พ.ศ.2428 รัชกาลที่ 5 มีพระราชดำเนินสถาปนาให้ดำรงพระอิสริยยศที่ กรมหลวง

18.2.3. ด้วยทรงพระชราด้วยโรคภัยเบียดเบียน คือ โรคพระหทัยโต หลอดลมอักเสบเรื้อรัง และโรคเส้นพระโลหิตแข็ง วันที่ 10 มีนาคม พ.ศ.240 จึงสิ้นพระชนม์โดยสงบ ขณะที่อายุ 83 พรรษา

18.3. บทบาทและสถานทางสังคม

18.3.1. ด้านการเมืองการปกครอง

18.3.1.1. ทรงได้รับการยกย่องจากองค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติหรือยูเนสโก (UNESCO)  ให้เป็นบุคคลผู้มีผลงานดีเด่นทางด้านวัฒนธรรมระดับโลกประจำปี พ.ศ. 2506

18.3.1.2. ในสมัยรัชกาลที่ 5 ทรงเป็นเสนาบดีกระทรวงต่างๆ

18.3.1.3. ในสมัยรัชกาลที่ 7

18.3.1.3.1. ทรงเป็นที่ปรึกษาราชการแผ่นดิน

18.3.1.3.2. ทรงเป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ขณะเสด็จประทับนอกกรุงเทพหรือต่างประเทศ

18.3.2. งานสถาปัตยกรรมที่โปรดทำมากคือ แบบพระเมรุ โดยตรัสว่า "เป็นงานที่ทำขึ้นใช้ชั่วคราวแล้วรื้อทิ้งไป เป็นโอกาสได้ทดลองใช้ปัญญาความคิดแผลงได้เต็มที่ จะผิดพลาดไปบ้างก็ไม่สู้กระไร ระวังเพียงอย่างเดียวคือเรื่องทุนเท่านั้น"

18.3.3. ด้านสังคมและวัฒนธรรม

18.3.3.1. นอกจากนี้ทรงเขียนจดหมายอภิปรายเรื่องต่าง ๆ ของไทยกับสมเด็จ ฯ  กรมพระยาดำรงราชานุภาพทั้งในด้านประวัติศาสตร์  ภาษาศาสตร์  ขนบธรรมเนียมประเพณี  เป็นต้น  จดหมายของทั้งสองพระองค์นี้ต่อมาพิมพ์ในชื่อ  "สาสน์สมเด็จ"  ซึ่งนับเป็นคลังความรู้หนึ่งในการศึกษาเรื่องต่าง ๆ ของไทย

18.4. ด้านสถาปัตยกรรม

18.4.1. งานด้านสถาปัตยกรรมเป็นงานที่พระองค์ทรงพิถีพิถันอย่างมาก เพราะตรัสว่า "ต้องระวังเพราะสร้างขึ้นก็เพื่อความพอใจ ความเพลิดเพลินตา ไม่ใช่สร้างขึ้นเพื่ออยากจะรื้อทิ้ง ทุนรอนที่เสียไปก็ใช่จะเอาคืนมาได้ ผลที่สุดก็ต้องทิ้งไว้เป็นอนุสาวรีย์สำหรับขายความอาย

18.4.2. ภาพเขียนสีน้ำมันประกอบพระราชพงศาวดาร แผ่นดินพระเจ้าท้ายสระครั้งกรุงศรีอยุธยา เป็นภาพช้างทรงพระมหาอุปราชแทงช้างพระที่นั่ง

18.5. ผลงาน

18.5.1. ด้านจิตรกรรม

18.5.1.1. ภาพเขียนรถพระอาทิตย์ที่เพดานพระที่นั่งภานุมาศจำรูญ (พระที่นั่งบรมพิมาน)

18.5.1.2. ภาพประกอบเรื่องธรรมาธรรมะสงคราม

18.5.1.3. ภาพแบบพัดต่างๆ

18.5.2. งานออกแบบ

18.5.2.1. ออกแบบตรากระทรวงต่างๆ,

18.5.2.2. อนุสาวรีย์ทหารอาสาสงครามโลกครั้งที่ 1,

18.5.2.3. องค์พระธรณีบีบมวยผมที่เชิงสะพานผ่านพิภพลีลา

18.5.2.4. พระบรมรูปหล่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชที่เชิงสะพานพระพุทธยอดฟ้า

18.5.2.5. ทรงออกแบบพระเมรุมาศ

18.5.2.6. พระเมรุของพระบรมวงศ์หลายพระองค์

18.5.3. วรรณกรรม

18.5.4. นาฎศิลป์ และดุริยางคศิลป์

18.5.4.1. ทรงสนพระทัยทั้งดนตรีไทยและดนตรีสากล โดยเฉพาะดนตรีไทยนั้นทรงฝึกฝนมาแต่พระเยาว์ ทรงถนัดเล่นปี่พาทย์และระนาดมากกว่าเครื่องดนตรีอื่นๆ

18.5.4.2. เพลงพระนิพนธ์

18.5.4.2.1. เพลงสรรเสริญพระบารมี (คำร้อง)

18.5.4.2.2. เพลงเขมรไทรโยค

18.5.4.2.3. เพลงตับ เช่น ตับแม่ศรีทรงเครื่อง ตับเรื่องขอมดำดิน

18.6. "พระสุริโยทัยขาดคอช้าง" จิตรกรรมประกอบโคลงพระราชพงศาวดาร ฝีพระหัตถ์สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัติวงศ์

18.7. เหตุการณ์สำคัญทางดนตรีไทยในช่วงชีวิตของพระองค์

18.7.1. นับตั้งแต่ปี พ.ศ.2441 ประเทศไทยต้องต้อนรับแขกเมืองเป็นประจำ รัชกาลที่5 ได้พระกรุณาโปรดเกล้าฯให้ปรับปรุงดนตรีไทยให้เหมาะสมกับการบรรเลงในอาคารจึงเกิดเป็นวงปี่พาทย์ดึกดำดรรพ์ขึ้นมา

18.7.2. มีการฟื้นฟูเพลงเก่าและแต่งพลงใหม่อยู่เสมอ

18.7.3. มีการบันทึกเพลงไทยเป็นโน๊ตสากล

18.7.4. มีการร้องเพลงประสานเสียชาย-หญิงแบบฝรั่งครั้งแรกโดยเพลงเขมรไทรโยค

18.7.5. มีการใส่ Sound Effect ครั้งแรกในเพลงไทย

19. New Topic

20. New Topic

21. พระยาเสนาะดุริยางค์

21.1. ประวัติ

21.1.1. เป็นบุตรคนโตของครูซ้อย และนางไผ่ สุนทรวาทิน ได้ฝึกฝันวิชาดนตรี จากครูซ้อย ผู้เป็นบิดา จนมีความแตกฉาน ต่อมาเจ้าพระยาเทเวศน์วงศ์วิวัฒน์ (ม.ร.ว. หลาน กุญชร) ได้ขอตัวมาเป็นนักดนตรีในวงปี่พาทย์ของท่าน ท่านเข้ารับราชการ เมื่อ พ.ศ. 2422

21.1.2. ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น "ขุนเสนาะดุริยางค์"

21.2. ผลงานโดดเด่น

21.3. ครูช้อย เป็นครูดนตรีที่มีลูกศิษย์จำนวนไม่น้อย ลูกศิษย์บางคนก็กลายเป็นนักดนตรีที่มีชื่อเสียง และมีความสำคัญต่อวงการดนตรีมาก เช่น พระยาประสานดุริยศัพท์ ( แปลก ประสานศัพท์ ) เจ้ากรม

21.4. ครูช้อยได้แต่งเพลงที่ล้วนมีทำนองดีเด่นหลายเพลง เป็น เพลงครอบจักรวาล และม้ายองสามชั้น แขกลพบุรีสามชั้น เขมรปี่แก้วสามชั้น ( ทางธรรมดา ) เขมรโพธิสัตว์ โหมโรงมะลิเลื้อย พราหมณ์เข้าโบสถ์ ใบ้คลั่งสามชั้น เทพรัญจวนสามชั้น แขกโอดสามชั้น แต่งร่วมกับพระยาประสานดุริยศัพท์ เพลงอกทะเลสามชั้น ฯลฯ

21.5. บทบาทสถานะทางสังคม