สาระที่ 4 หลักการใช้ภาษาไทย

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
สาระที่ 4 หลักการใช้ภาษาไทย by Mind Map: สาระที่ 4 หลักการใช้ภาษาไทย

1. บทที่ 11 เด็กดี--อ่านคล่องร้องเล่น "เด็กดี ทำดี"

2. บทที่ 2 นิทานอ่านใหม่--การส่งเสียงและเลียนเสียง

3. 3.เรียบเรียงคำเป็นประโยคได้ตรงตามเจตนาของการสื่อสาร

3.1. การแต่งประโยค

3.1.1. ภาษาพาที

3.1.1.1. บทที่ 1 น้ำใส--เลือกเขียนคำในประโยค "อธิบายเพิ่มเติมความรู้"

3.1.1.1.1. บทที่ 7 นักคิดสมองใส--อ่านคล่องร้องเล่น "สายรุ้ง"

3.1.1.2. บทที่ 3 ครัวป่า--เลือกเขียนคำในประโยค "อธิบายเพิ่มเติมความรู้"

3.1.1.3. บทที่ 4 กลัวทำไม--เลือกเขียนคำในประโยค "อธิบายเพิ่มเติมความรู้" และเลือกคำมาแต่งประโยค

3.1.1.4. บทที่ 5 ชีวิตใหม่--เลือกเขียนคำในประโยค "อธิบายเพิ่มเติมความรู้"

3.1.1.5. บทที่ 12 ชาติของเรา--เลือกคำจากบทเรียนมาแต่งประโยค

3.1.1.6. บทที่ 2 ใจหาย--เลือกเขียนคำในประโยค "อธิบายเพิ่มเติมความรู้"

3.1.1.7. บทที่ 6 มีน้ำใจ--แต่งนิทานตามจินตนาการ และเลือกเขียนคำในประโยค "อธิบายเพิ่มเติมความรู้"

3.2. การเรียบเรียงประโยคเป็นข้อความสั้นๆ

3.2.1. ภาษาพาที

3.2.1.1. บทที่ 1 น้ำใส--ฝึกเขียนคำใน รุ้จักคำนำเรื่อง

3.2.1.2. บทที่ 3 ครัวป่า--ฝึกเขียนคำใน รู้จักคำนำเรื่อง

3.2.1.3. บทที่ 4 กลัวทำไม--ฝึกเขียนคำใน รู้จักคำนำเรื่อง

3.2.1.4. บทที่ 5 ชีวิตใหม่--ฝึกเขียนคำใน รู้จักคำนำเรื่อง

3.2.1.5. บทที่ 7 นักคิดสมองใส--เลือกเขียนคำและประโยคตามคำบอก

3.2.2. บทที่ 2 ใจหาย--ฝึกเขียนคำใน รู้จักคำนำเรื่อง

4. 4.บอกลักษณะคำคล้องจอง

4.1. คำคล้องจอง

4.1.1. ภาษาพาที

4.1.1.1. บทที่ 1 น้ำใส--อ่านคล่องร้องเล่น "เย็น เย็น" และต่อคำคล้องจองและร้องเล่น "แม่ไก้ของฉัน"

4.1.1.2. บทที่ 2 ใจหาย--อ่านคล่องร้องเล่น "คิดถึง เพื่อนรัก"

4.1.1.2.1. บทที่ 6 ยายกะตา--ยักษ์เล็กตีกับยักษ์ใหญ่

4.1.1.3. บทที่ 3 ครัวป่า--อ่านคล่องร้องเล่น "อร่อย อร่อย" และอ่านคำคล้องจองและคิดคำตอบ

4.1.1.4. บทที่ 4 กลัวทำไม--อ่านคล่องร้องเล่น "กลัวทำไม"

4.1.1.5. บทที่ 5 ชีวิตใหม่--อ่านคล่องร้องเล่น "จำลาจาก" และอ่านคำคล้องจอง

4.1.1.6. บทที่ 10 เข็ดแล้ว--อ่านคล่องร้องเล่น "กินดี มีสุข"

4.1.1.7. บทที่ 9 รักพ่อ รักแม่--อ่านคล่องร้องเล่น "รักแท้"

4.1.1.8. บทที่ 12 ชาติของเรา--อ่านคล่องร้องเล่น "ชาติไทย"

4.1.1.9. บทที่ 3 ครัวป่า--อ่านคล่องร้องเล่น "อร่อย อร่อย" และอ่านคำคล้องจองและคิดคำตอบ

4.2. บทที่ 8 โลกร้อน--อ่านคล่องร้องเล่น "ร่วมแก้ไข"

4.3. บทที่ 6 มีน้ำใจ--อ่านคล่องร้องเล่น "ช่วยกัน","เด็กดีมีน้ำใจ" และร้องเล่น

5. 5.เลือกใช้ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่นได้เหมาะสมกับกาลเทศะ

5.1. ภาษาไทยมาตรฐาน

5.1.1. วรรณคดีลำนำ

5.1.1.1. บทที่ 2 นิทานอ่านใหม่--เรื่องของหนู และ เกี่ยวกับการพูด

5.1.2. ภาษาพาที

5.1.2.1. บทที่ 9 รักพ่อ รักแม่--ขอถวายพระพร

5.2. ภาษาถิ่น

5.2.1. วรรณคดีลำนำ

5.2.2. ภาษาพาที

5.2.2.1. บทที่ 3 ครัวป่า--มะปิ่นมะตูม(ภาษาเหนือ)

6. บทที่ 2 นิทานอ่านใหม่--คำศัพท์ท้ายบท

7. 1.บอกและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และเลขไทย

7.1. พยัญชนะ สระ และวรรณยุกต์

7.1.1. ภาษาพาที

7.1.1.1. บทที่ 1 น้ำใส--พยัญชนะทบทวน ป.1,สระทบทวน ป.1 และผันวรรณยุกต์ ่ ้ ๊ ๋ (อักษรกลาง สูง ต่ำ)

7.1.1.2. บทที่ 2 ใจหาย--สระ เ-ียะ,เ-ีย

7.1.1.3. บทที่ 3 ครัวป่า--พยัญชนะควบกล้ำ ร ล และสระ เ-ือะ,เ-ือ

7.1.1.4. บทที่ 4 กลัวทำไม--พยัญชนะควบกล้ำ ว และสระ อือ(มีตัวสะกด/ไม่มีตัวสะกด)

7.1.1.5. บทที่ 5 ชีวิตใหม่--พยัญชนะอักษรนำ(ห นำ) ,สระ อะ(มีตัวสะกด) และคำที่ออกเสียง อะ มีรูป -ะ และไม่มีรูป -ะ

7.1.1.6. บทที่ 6 มีน้ำใจ--พยัญชนะอักษรนำ(ห นำ,อ นำ) ,สระ โ-ะ(มีตัวสะกด) และผันวรรณยุกต์ ่ ้

7.1.1.7. บทที่ 7 นักคิดสมองใส--สระ เ-ะ,แ-ะ(มีตัวสะกด)

7.1.1.8. บทที่ 8 โลกร้อน--สระ อัว(มีตัวสะกด) และคำที่มีพยัญชนะ สระ และเครื่องหมายที่ไม่ออกเสียง

7.1.1.9. บทที่ 9 รักพ่อ รักแม่--สระ ออ(มีตัวสะกด) และคำที่มี ฤ ฤา

7.1.1.10. บทที่ 10 เข็ดแล้ว--สระ เออ(มีตัวสะกด)

7.1.1.11. บทที่ 12 ชาติของเรา--สระ รูปสระ(มีตัวสะกด/ไม่มีตัวสะกด)

8. 2.เขียนสะกดคำและบอกความหมายของคำ

8.1. การสะกดคำ การแจกลูก และการอ่านเป็นคำ

8.1.1. ภาษาพาที

8.1.1.1. บทที่ 2 ใจหาย--สระ เ-ียะ,เ-ีย

8.1.1.2. บทที่ 3 ครัวป่า--สระ เ-ือะ,เ-ือ

8.1.1.3. บทที่ 4 กลัวทำไม--สระ อือ(มีตัวสะกด/ไม่มีตัวสะกด)

8.1.1.4. บทที่ 5 ชีวิตใหม่-- สระ -ะ(มีตัวสะกด) และคำที่ออกเสียง อะ มีรูป -ะ และไม่มีรูป -ะ

8.1.1.5. บทที่ 6 มีน้ำใจ--สระ โ-ะ(มีตัวสะกด)

8.1.1.6. บทที่ 7 นักคิดสมองใส--สระ เ-ะ,แ-ะ(มีตัวสะกด) และ ็(ไม้ไต่คู้)

8.1.1.7. บทที่ 8 โลกร้อน--สระ อัว(มีตัวสะกด) เสียงสระ และพยัญชนะที่ไม่ได้ออกเสียง

8.1.1.8. บทที่ 9 รักพ่อ รักแม่--สระ ออ(มีตัวสะกด) และคำที่มี ฤ ฤา

8.1.1.9. บทที่ 10 เข็ดแล้ว--สระ เ-อ(มีตัวสะกด)

8.1.1.10. บทที่ 12 ชาติของเรา--สระที่ไม่มีตัวสะกด และมีตัวสะกด และรูปสระที่เปลี่ยนแปลง

8.2. มาตราตัวสะกดที่ตรงแม่และไม่ตรงแม่

8.2.1. ภาษาพาที

8.2.1.1. บทที่ 1 น้ำใส--ตัวสะกดมาตราแม่ ก กา กง กน กมก เกย เกอว กก กด และกบ

8.2.1.2. บทที่ 2 ใจหาย--ตัวสะกดแม่ กง กม กน (ตรงแม่/ไม่ตรงแม่)

8.2.1.3. บทที่ 3 ครัวป่า--ตัวสะกดแม่ เกย กก กบ (ตรงไม่/ไม่ตรงแม่)

8.2.1.4. บทที่ 4 กลัวทำไม--ตัวสะกดแม่ กด เกอว (ตรงแม่/ไม่ตรงแม่)

8.3. การผันอักษรกลาง สูง ต่ำ

8.3.1. ภาษาพาที

8.3.1.1. บทที่ 1 น้ำใส--ผันวรรณยุกต์ อักษรกลาง สูง ต่ำ

8.4. คำที่มีพยัญชนะควบกล้ำ

8.4.1. ภาษาพาที

8.4.1.1. บทที่ 3 ครัวป่า--ฝึกอ่านพยัญชนะควบกล้ำ ร ล

8.4.1.2. บทที่ 4 กลัวทำไม--ฝึกอ่านพยัญชนะควบกล้ำ ว

8.5. คำที่มีอักษรนำ

8.5.1. ภาษาพาที

8.5.1.1. บทที่ 5 ชีวิตใหม่--อักษรนำ ห นำ

8.6. คำที่มีความหมายตรงข้ามกัน

8.6.1. ภาษาพาที

8.6.1.1. บทที่ 9 รักพ่อ รักแม่--อ่านและสังเกตคำที่มีความหมายตรงข้ามกัน

8.7. คำที่มี รร(ร หัน)

8.7.1. ภาษาพาที

8.7.1.1. บทที่ 11 เด็กดี--คำที่มี รร(ร หัน) และเครื่องหมายต่างๆ ทัณฑฆาต( ์) ,ไม้ยมก(ๆ) ,อัศเจรีย์(!) ,อัญประกาศ(" ")

8.8. บทที่ 6 ยายกะตา--คำศัพท์ท้ายบท

8.9. บทที่ 6 มีน้ำใจ--อักษรนำ ห นำ อ นำ

8.10. ความหมายของคำ

8.10.1. วรรณคดีลำนำ

8.10.1.1. บทที่ 1 ดอกสร้อยแสนงาม--คำศัพท์ท้ายบท

8.10.1.2. บทที่ 3 รื่นรสวักวา--คำศัพท์ท้ายบท

8.10.1.3. บทที่ 4 ไก่แจ้แซ่เสียง--คำศัพท์ท้ายบท

8.10.1.4. บทที่ 5 ภาพวาดของสีเทียน--คำศัพท์ท้ายบท