ประชากรมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ประชากรมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม by Mind Map: ประชากรมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม

1. ประชากรมนุษย์

1.1. ความหมายและความหนาแน่นของประชากรมนุษย์

1.1.1. ความหมาย

1.1.1.1. ประชากร = สิ่งมีชีวิตเดียวกันมากกว่า 1 ตัว + พื้นที่ + ช่วงเวลา

1.1.1.2. ประชากรมนุษย์ = มนุษย์มากกว่า 1 คน + พื้นที่ + ช่วงเวลา

1.1.2. ความหนาแน่น

1.1.2.1. ความหนาแน่นของประชากรมนุษย์ = จำนวนมนุษย์ทั้งหมด (คน) หาร พื้นที่ (ตร.กม.)

1.1.2.2. ความหนาแน่น เพิ่ม = คน เพิ่ม พื้นที่ ลด ลด = คน ลด พื้นที่ เพิ่ม

1.2. โครงสร้างและพีระมิดอายุ

1.2.1. โครงสร้างของประชากรมนุษย์ 3 กลุ่ม

1.2.1.1. 1. กลุ่มก่อนวัยเจริญพันธุ์

1.2.1.2. 2. กลุ่มวัยเจริญพันธุ์

1.2.1.3. 3. กลุ่มหลังวัยเจริญพันธุ์

1.2.2. พีระมิดอายุของประชากรมนุษย์

1.2.2.1. แบบเพิ่ม / แบบคงที่ / แบบลด (ดูรูปหน้า 114)

1.3. ความผันแปรปละการควบคุมจำนวนประชากรมนุษย์

1.3.1. ความผันแปรของประชากรมนุษย์

1.3.1.1. ความผันแปรของประชากรสิ่งมีชีวิตไม่คงที่ แต่จะมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา

1.3.1.2. .                         อพยพเข้า                                 +                                 v อัตตราการเกิด + > ขนาด < - อัตราการตาย                                 ^                                 -                           อพยพออก

1.3.2. การควบคุมจำนวนประชากรมนุษย์

1.3.2.1. ปัจจัยภายนอก

1.3.2.1.1. กายภาพ

1.3.2.1.2. ชีวภาพ

1.3.2.2. ปัจจัยภายใน

1.3.2.2.1. การปรับตัว 3 ด้าน

1.4. การประมานจำนวนประชากร

1.4.1. Plato

1.4.1.1. จำนวนประชากรและจำนวนบ้านเรือนต้องได้สัดส่วนกัน (ส่งเสริมให้เพิ่มจำนวนคนมาใช้ทรัพยากร ไม่พออพยพไปตั้งเมืองใหม่)

1.4.2. Thomas Robert

1.4.2.1. ต้องควบคุมจำนวนประชากร อาหารและสิ่งจำเป็นในการดำรงชีวิตให้เหมาะสม (แต่งงานให้ช้า อยู่เป็นโสด)

1.4.3. อดีตจนถึงปัจจุบัน

1.4.3.1. ประชากรเพิ่มขึ้นหลังจากการประฎิวัติอุตสาหกรรม (การแพทย์ เทคโนโลยี เกษตรกรรม )

1.4.4. อนาคต

1.4.4.1. C1 = อัตตราการเกิดลดลง (กราฟขึ้น แต่ความชันลดลง)

1.4.4.2. C2 = อัตราการเกิดเท่ากับอัตราการตาย (กราฟคงที่)

1.4.4.3. C3 = อัตราเพิ่มขึ้น (กราฟดิ่ง)

2. ความสัมพันธ์ระหว่างประชากรมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม

2.1. บทบาทของสิ่งแวดล้อมที่มีต่อมนุษย์

2.1.1. บทบาทในแง่บวก

2.1.1.1. 1 สิ่งแวดล้อมเป็นแหล่งที่มาของปัจจัย 4

2.1.1.2. 2 เป็นแหล่งที่มาของสิ่งอำนวยความสะดวก (บ้าน รถ ตู้เย็น )

2.1.1.3. 3 ก่อให้เกิดขนบธรรมเนียม (ลอยกระทง)

2.1.1.4. 4 ก่อให้เกิดคุณภาพชีวิต (สถานภาพ การศึกษา อนามัน เศษรฐกิจ)

2.1.2. บทบาทในแง่ลบ

2.1.2.1. ก่อให้เกิดอันตราย (ภัยพิบัติ โรคระบาด)

2.2. บทบาทของมนุษย์ที่มีต่อสิ่งแวดล้อม

2.2.1. แง่บวก

2.2.1.1. อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม สร้างความเชื่อ เศรษฐกิจพอเพียง ออกกฎหมายเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม

2.2.2. แง่ลบ

2.2.2.1. ขากจิตสำนึกในการอนุรักษ์ (ทำไร่เลื่อนลอย / ทำลายสิ่งแวดล้อม)