อุปกรณ์ทางเภสัชกรรม

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
อุปกรณ์ทางเภสัชกรรม by Mind Map: อุปกรณ์ทางเภสัชกรรม

1. โกร่งบดยา

1.1. โกร่งแก้วและ โกร่งกระเบื้อง

1.1.1. เป็นเครื่องมือที่ใช้สำหรับบดสารให้ได้ขนาดที่เล็กลง หรือบดให้ละเอียด หรือใช้ผสมสารเคมีที่เป็นของแข็งเข้าด้วยกัน

1.1.1.1. วิธีการใช้โกร่งบดยา

2. เครื่องชั่ง

2.1. เครื่องชั่งแบบ (Triple-beam balance)

2.1.1. เป็นเครื่องชั่งชนิด Mechanical balance อีกชนิดหนึ่งที่มีราคาถูกและใช้ง่าย แต่มีความไวน้อย เครื่องชั่งชนิดนี้มีแขนข้างขวาอยู่ 3 แขนและในแต่ละแขนจะมีขีดบอกน้ำหนักไว้เช่น 0-1.0 กรัม 0-10 กรัม 0-100 กรัม และยังมีตุ้มน้ำหนักสำหรับเลื่อนไปมาได้อีกด้วย แขนทั้ง 3 นี้ติดกับเข็มชี้อันเดียวกัน

2.1.1.1. วิธีการใช้เครื่องชั่งแบบ (Triple-beam balance) 1. ตั้งเครื่องชั่งให้อยู่ในแนวระนาบ แล้วปรับให้แขนของเครื่องชั่งอยู่ในแนบระนาบโดยหมุนสกรูให้เข็มชี้ตรงขีด 0 2. วางขวดบรรจุสารบนจานเครื่องชั่ง แล้วเลื่อนตุ้มน้ำหนักบนแขนทั้งสามเพื่อปรับให้เข็มชี้ตรงขีด 0 อ่านน้ำหนักบนแขนเครื่องชั่งจะเป็นน้ำหนักของขวดบรรจุสาร 3. ถ้าต้องการชั่งสารตามน้ำหนักที่ต้องการก็บวกน้ำหนักของสารกับน้ำหนักของขวดบรรจุสารที่ได้ในข้อ 2 แล้วเลื่อนตุ้มน้ำหนักบนแขนทั้ง 3 ให้ตรงกับน้ำหนักที่ต้องการ 4. เติมสารที่ต้องการชั่งลงในขวดบรรจุสารจนเข็มชี้ตรงขีด 0 พอดี จะได้น้ำหนักของสารตามต้องการ 5. นำขวดบรรจุสารออกจากจานของเครื่องชั่งแล้วเลื่อนตุ้มน้ำหนักทุกอันให้อยู่ที่ 0 ทำความสะอาดเครื่องชั่งหากมีสารเคมีหกบนจานหรือรอบๆ เครื่องชั่ง

2.1.1.1.1. วิธีการใช้เครื่องชั่งแบบ (Triple-beam balance)

2.2. เครื่องชั่งแบบดิจิตอล

2.2.1. วิธีการใช้เครื่องชั่งแบบดิจิตอล

3. spatula

3.1. Technique การลดขนาดและการผสม

4. ช้อนเขา

4.1. 42

4.2. วิธีการใช้ช้อน ตักสาร

5. watch glass

5.1. กระจกนาฬิกา(watch glass) ส่วนมากใช้สำหรับป้องกันสารละลายระเหยออกจากบีกเกอร์(beaker) โดยการวางปิดด้านบนบีกเกอร์ หรือใช้เป็นภาชนะในการใส่สารเคมีที่เป็นของแข็งเพื่อนำมาทดสอบ ทดลองการทำปฏิกิริยาของสารก็สามารถทำได้

5.2. watch glass

6. stirring rod

6.1. วิธีการใช้ วิธีที่ 1 การกวนสารละลายด้วยแท่งแก้ว เป็นการกวนของแข็งให้ละลายในเนื้อเดียวกันกับสารละลายหรือเป็นการกวนให้สารละลายผสมกันโดยใช้แท่งแก้ว การกวนสารละลาย ต้องกวนไปในทิศทางเดียว และระวังอย่าให้แท่งแก้วกระทบกับข้างหลอดทดลองหรือก้นหลอดทดลอง เพราะจะทำให้หลอดทดลองทะลุได้ หากเป็นการผสมสารละลายที่มีจำนวนมากก็ควรใช้ปีกเกอร์แทนหลอดทดลองและใช้เทคนิคการกวนสารละลายเช่นเดียวกัน วิธีที่ 2 การหมุนสารละลายด้วยข้อมือ เป็นเทคนิคการผสมสารละลายในหลอดทดลอง กระบอกตวงหรือฟลาสให้มีลักษณะเป็นเนื้อเดียวกันทุกส่วนวิธีหนึ่ง โดยใช้มือจับทางส่วนปลายของอุปกรณ์ดังกล่าวแล้วหมุนด้วยข้อมือให้สารละลายข้างในไหลวนไปทิศทางเดียวกัน

6.1.1. วิธีการใช้stirring rod