มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับ                         เทคโนโลยีและสื่อการศึกษา

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับ                         เทคโนโลยีและสื่อการศึกษา by Mind Map: มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับ                         เทคโนโลยีและสื่อการศึกษา

1. การเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์

1.1. การเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์

1.1.1. ผู้เรียน

1.1.1.1. สร้างความรู้

1.1.1.1.1. โครงสร้างทางปัญญา (Schemas)

1.1.1.1.2. รูปแบบการทำความเข้าใจ (Mental Model)

1.1.1.2. ลงมือกระทำการเรียนรู้

1.1.2. ผู้สอน

1.1.2.1. แนะนำทางพุทธิปัญญา

1.1.2.2. จัดเตรียมสิ่งแวดล้อมให้ผู้เรียนได้สำรวจ

1.1.2.3. กระตุ้นให้ผู้เรียนสร้างความรู้

1.1.3. นักออกแบบสื่อ

1.1.3.1. สร้างสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้

1.1.4. อาศัยการเชื่อมโยงกับประสบการณ์เดิม

1.2. เทคโนโลยีและสื่อการศึกษาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์

1.2.1. ให้ผู้เรียนเห็นความคิดรวบยอดของเนื้อหา

1.2.2. ผู้เรียนและผู้สอนสร้างเป้าหมายการเรียนร่วมกัน

1.2.3. ผู้สอนให้บทบาทของผู้แนะนำ

1.2.4. กำกับวิธีการเรียนรู้ด้วยความคิดของตนเอง

1.2.5. ผู้เรียนใช้สื่อและควบคุมการเรียนรู้ด้วยตนเอง

1.2.6. สร้างความรู้ ไม่คัดลอก

1.2.7. เน้นทักษะการคิดขั้นสูง

1.2.8. ประเมินตามสภาพจริง

2. การเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม

2.1. ตามแนวพฤติกรรมนิยม

2.1.1. ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้า (Stimulus)

2.1.2. กับการตอบสนอง (Response)

2.1.3. ความเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้าและการ ตอบสนอง

2.1.4. จะมุ่งเน้นเพียงเฉพาะพฤติกรรมที่สามารถวัดและสังเกตได้เท่านั้น

2.1.5. ไม่ศึกษาถึงกระบวนการภายในของมนุษย์ (Mental process)

2.2. เทคโนโลยีและสื่อการศึกษาตามแนวพฤติกรรมนิยม

2.2.1. ผู้เรียนเป็นผู้รับข้อมูลสารสนเทศ

2.2.2. ผู้สอนจะเป็นผู้นำเสนอข้อมูลสารสนเทศ

3. การเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยม

3.1. การเรียนรู้ตามแนวพุทธิปัญญานิยม

3.1.1. ความรู้ความเข้าใจหรือการรู้คิดของมนุษย์

3.1.2. เปลี่ยนแปลงความรู้ผู้เรียนด้านปริมาณและคุณภาพ

3.1.3. ผู้เรียนสามารถวางสารสนเทศใหม่ในความจำระยะยาว (Long-term memory)

3.2. เทคโนโลยีและสื่อการศึกษาตามแนวพุทธิปัญญานิยม

3.2.1. การเรียนรู้เป็นผลมาจากการจัดระเบียบ

3.2.2. เชื่อมโยงระหว่างสารสนเทศใหม่กับความรู้เดิม

3.2.3. สามารถเรียกกลับมาใช้ได้ตามที่ต้องการ

3.2.4. สามารถถ่ายโยงความรู้และทักษะเดิม

3.2.5. ใช้เทคนิคให้ผู้เรียนใส่ใจ

3.2.5.1. การมุ่งเน้นคำถาม

3.2.5.2. การเน้นคำหรือข้อความ

3.2.5.3. การใช้ Mnemonic

3.2.5.4. การสร้างภาพ