การพยาบาลทารกที่มีปัญหา

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การพยาบาลทารกที่มีปัญหา by Mind Map: การพยาบาลทารกที่มีปัญหา

1. neonatal sepsis

1.1. สาเหตุ

1.1.1. early onset sepsis

1.1.1.1. เกิดก่อนหรือระหว่างคลอด

1.1.1.2. เเสดงอาการหลังคลอด 2-3 วัน

1.1.1.3. แกรมบวก stepococci

1.1.1.4. แกรมลบ E.coli

1.1.2. late onset sepsis

1.1.2.1. หลัง 3-4 วัน ส่วนใหญ่ติดเชื้อรพ.

1.2. ปัจจัยเสี่ยง

1.2.1. เด็กภูมิคุ้มกันไม่ดี

1.2.2. เเม่ติดเชื้อ TORCH

1.3. อาการ

1.3.1. ซึม ร้องนาน ร้องเสียงเเหลม

1.3.2. หายใจลำบาก ไม่สม่ำเสมอ

1.3.3. ท้องอืด อาเจียน hypergrycemia เลือดเป็นกรด

1.4. การวินิจฉัย

1.4.1. ประวัติการตั้งครรภ์

1.4.2. Lab

1.4.2.1. ESR ไม่เกิน 15

1.4.2.2. brand from น้อยกว่า 0.6

1.4.2.3. complete blood count และ platelet count

1.4.2.3.1. 6 ชม. 5,400-13,000 ,12 ชม. 7,800-14,00 , 24 ชม 7,200-12,600

1.5. การรักษา

1.5.1. รักษาเจาะจง

1.5.1.1. ให้ ATB

1.5.1.1.1. เยื่อหุ้มสมองอักเสบ cefotaxine

1.5.2. ประคับประคอง

1.5.2.1. จัดสิ่งเเวดล้อม

1.5.2.2. ให้สารน้ำ

1.5.3. สร้่างภูมิคุ้มกัน

1.5.3.1. intravenous immunoglobulin (IVIG) granulocyte transfusion

2. NEC

2.1. สาเหตุ

2.1.1. เด็ก praterm

2.1.2. ติดเชื้อในลำไส้

2.1.3. เลือดและออกซิเจนเลี้ยงไส้ลดลง

2.2. อาการ

2.2.1. GI

2.2.1.1. ท้องอืด ดูดไม่ดี มี content

2.2.2. Systemic

2.2.2.1. ซึม หยุดหายใจ temp เปลี่ยนเเปลง

2.3. วินิจฉัย

2.3.1. ซักประวัติ

2.3.1.1. ประวัติการตั้งครรภ์ , การคลอดก่อนกําหนด, การติดเชื้อ

2.3.2. ตรวจร่างกาย

2.3.2.1. abdominal distension ,gastric aspirates, bilious vomitting , bloody stools, temperature instability, visible loops of bowel

2.3.3. Lab

2.3.3.1. CHO malabsorption

2.3.3.2. typingand crossmaching of blood

2.3.3.3. CBC, e lyte

2.3.4. CT abd

2.3.4.1. portal venous gas

2.3.4.2. pneumatosis intestinalis

2.3.4.3. pneumoperitoneum

2.4. การรักษา

2.4.1. ได้ ATB คือ ampicillin ,gentamycin ลําไส้ทะลุควรใช้ metronidazole ,clindamycin

2.4.2. อาการดีขึ้น ให้สารนํ้า,นม เจือจาง

2.4.3. NPO

2.4.4. on OG tube

3. neonatal jaundice

3.1. สาเหตุ

3.1.1. สร้างบิริรูบินมากขึ้นจากทำลาย RBC

3.1.2. ดูดซึมลดลง

3.1.2.1. ลำไส้อุดตัน

3.1.3. กำจัดลงลดลง

3.1.3.1. ท่อน้ำดีอุดตัน

3.1.4. สร้างเพิ่ม กำจัดลดลง

3.1.4.1. ติดเชื้อ

3.1.5. ดูดซึมลดลง

3.1.5.1. BFJ

3.1.5.1.1. ทารกอายุ 2-4 วัน ที่ยังได้รับนมแม่ไม่เพียงพอ

3.1.5.2. BMJ

3.1.5.2.1. ในนํ้านมแม่ไปยับยั้ง hepatic glucuronyl tranferase

3.2. อาการ

3.2.1. ฉับพลัน

3.2.1.1. ทารกจะเริ่มมีอาการซึมลง ไม่ยอมดูดนม ร้องเสียงแหลมสูง

3.2.2. เรื้อรัง

3.2.2.1. หูหนวก ชัก ตัวแข็งเกร็ง ปัญหาพัฒนาการ

3.3. ประเภท

3.3.1. physiological jaundice

3.3.1.1. การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาตามปกอาจเพิ่มได้ถึง 8-12 มก./ดล. ในทารกครบกําหนด และไม่เกิน 15 มก./ดล. ในทารกเกิดก่อนกําหนด

3.3.2. pathological jaundice

3.3.2.1. มีบิลิรูบินในเลือดสูงมากผิดปกติ จะมีอาการเหลืองให้เห็นเร็วภายใน 24 ชั่วโมงแรกหลังเกิด ระดับบิลิรูบินในซีรั่มขึ้นสูงเกิน 5 มก./ดล./วัน

3.4. การรักษา

3.4.1. การส่องไฟ

3.4.1.1. ช่วยลดระดับซีรั่มบิลิรูบินชนิดที่ไม่ละลายน้ำให้กลับมาเป็นสารที่ละลายน้ำได้

3.4.1.2. อาจทำให้องคชาติเเข็ง ตาบอดได้

3.4.2. ยา

3.4.2.1. phenobarbital

3.4.3. exchange transfusion

3.4.3.1. บิริรูบินมากกว่า 20

3.4.3.2. ปริมาณเลือด = 2 x (น้ำหนักตัวของทารกเป็นกิโลกรัม x 80 มิลลิลิตร)

3.5. การพยาบาล

3.5.1. ประเมินสภาพของผิวหนังโดยให้นิ้วกดผิวหนังบริเวณกระดูก

3.5.2. ประเมินปัจจัยเสี่ยงที่ทําให้ทารกตัวเหลือง

3.5.3. ประเมินปัจจัยเสี่ยงที่ทําให้ทารกตัวเหลือง

3.5.4. ประเมินบิดามารดาในเรื่องการรับรู้ ความรู้เรื่องทารกที่มีภาวะตัวเหลือง และแผนการรักษา

3.6. การวินิฉัย

3.6.1. ซักประวัติ

3.6.1.1. apgar ต่ำ

3.6.1.2. Rh incompatibility

3.6.2. ตรวจร่างการ

3.6.2.1. cephalocaudal progression

3.6.3. Lab

3.6.3.1. ระดับ direct bilirubin

3.6.3.2. bilirubin

3.6.3.3. Glucose-6-Phosphat

3.6.3.4. reticulocyte count