สื่อกลางในการสื่อสารขอมูล

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
สื่อกลางในการสื่อสารขอมูล by Mind Map: สื่อกลางในการสื่อสารขอมูล

1. สื่อกลางแบบใชสาย

1.1. 1) สายคูบิดเกลียว (twisted pair cable)

1.1.1. 1.1) สายคูบิดเกลียวแบบไมปองกันสัญญาณรบกวน หรือสายยูทีพี(Unshielded Twisted Pair : UTP)

1.1.1.1. เปนสายที่ใชในระบบโทรศัพท ตอมาไดมีการปรับปรุงคุณสมบัติใหดีขึ้น จนสามารถใชกับสัญญาณความถี่สูงได ทําใหสงขอมูลไดดวยความเร็วสูงขึ้น

1.1.2. 1.2) สายคูบิดเกลียวแบบปองกันสัญญาณรบกวน หรือสายเอสทีพี(Shielded Twisted Pair  : STP)

1.1.2.1. เปนสายที่หุมดวยกั้นสัญญาณเพื่อปองกันการรบกวนขอมูลสูงกวาสายยูทีพี แตมีราคาแพงกวาเปนหลัก เพราะมีราคาถูกกวาสายเอสทีพี และมีการพัฒนามาตรฐานใหมีคุณภาพสูง

1.2. 2) สายโคแอกซ (coaxial cable

1.2.1. เปนสายนําสัญญาณที่เรารูจักกันดี โดยใชเปนสายนําสัญญาณ ที่ตอจากเสาอากาศเครื่องรัโทรทัศนหรือสายเคเบิลทีวี ตัวสายประกอบดวยลวดทองแดงที่เปนแกนหลักหนึ่งเสนหุมดวยฉนวนเพื่อปองกันกระแสไฟรั่ว

1.3. 3) สายไฟเบอรออพติก (fiber-optic cable)

1.3.1. ประกอบดวยกลุมของเสนใยทําจากแกวหรือพลาสติกที่มีขนาดเล็กประมาณเสนผม แตละเสนจะมีแกนกลาง (core) ที่ถูกหอหุมดวยวัสดุใยแกวอีกชนิดหนึ่งซึ่งเรียกวา “แคล็ดดิง (cladding)” และหุมอีกชั้นดวยฉนวนเพื่อปองกันการกระแทกและฉีกขาด

2. สื่อกลางแบบไรสาย

2.1. 1) อินฟราเรด

2.1.1. สื่อกลางประเภทนี้มักใชกับการสื่อสารขอมูลที่ไมมีสิ่งกีดขวางระหวางตัวสงและ ตัวรับสัญญาณ

2.2. 2) ไมโครเวฟ

2.2.1. เปนสื่อกลางในการสื่อสารที่มีความเร็วสูง ใชสําหรับการเชื่อมตอระยะไกล โดยการสงสัญญาณคลื่นแมเหล็กไฟฟาไปในอากาศพรอมกับขอมูลที่ตองการสง และตองมีสถานีที่ทําหนาที่สงและรับขอมูล

2.3. 3) คลื่นวิทยุ

2.3.1. เปนสื่อกลางที่ใชสงสัญญาณไปในอากาศ โดยสามารถสงในระยะทางไดทั้งใกลและไกล โดยมีตัวกระจายสัญญาณ (broadcast) สงไปยังตัวรับสัญญาณ และใชคลื่นวิทยุในชวงความถี่ตางๆ กันในการสงขอมูล

2.4. 4) ดาวเทียมสื่อสาร

2.4.1. พัฒนาขึ้นมาเพื่อหลีกเลี่ยงขอจํากัดของสถานีรับสงไมโครเวฟบนผิวโลก โดยเปนสถานีรับสงสัญญาณไมโครเวฟบนอวกาศ ในการสงสัญญาณตองมีสถานีภาคพื้นดินคอยทําหนาที่รับและ สงสัญญาณขึ้นไปบนดาวเทียมที่โคจรอยูสูงจากพื้นโลกประมาณ 35,600 กิโลเมตร