1. บทที่ 2 ขั้นตอนการคิดและการแก้ปัญหาเชิงตรรกะ
1.1. หมายถึง การมีเหตุผล ดังนั้นการคิดและการแก้ปัญหาอย่างมีตรรกะจึงหมายถึงการคิดและ การแก้ปัญหาต่าง ๆ อย่างมีเหต
1.1.1. 1. การระบุปัญหาที่แท้จริง
1.1.2. 2. การระบุสาเหตุที่ท าให้เกิดปัญหา ปัญหาใดปัญหาหนึ่ง
1.1.3. 3. การเก็บรวบรวมข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล
1.1.4. 4. การประเมินสาเหตุที่เป็นไปได้มากที่สุด
1.1.5. 5. การระบุแนวทางแก้ไข
1.1.6. 6. ตรวจสอบและประเมินผล
1.2. เทคนิคสำหรับการคิดอย่างมีเหตุผล
1.2.1. 1. การเปิดกว้าง
1.2.2. 2. กล้าเปลี่ยนจุดยืน
1.2.3. 3. การหาเหตุผลและการให้เหตุผล
1.2.4. 4. มุมมอง จะต้องพิจารณาในทุก ๆ มุมมองของปัญหา
1.2.5. 5. การวางตัวเป็นกลาง
1.2.6. 6. การตั้งค าถาม
2. บทที่ 3 การวิเคราะห์ปัญหาและการแทนข้อมูล
2.1. ในคริศตศักราช 1945 George Polya ได้ตีพิมพ์หนังสือถึงวิธีการแก้ปัญหา มีการตีพิมพ์จำนวนกว่าหนึ่งล้านเล่ม และถูกแปลเป็นภาษาต่าง ๆ ถึง 17 ภาษา ในหนังสือได้กล่าวถึงหลักการการแก้ปัญหาอย่างเป็นขั้นตอน 4 ขั้นตอน
2.1.1. 1. เข้าใจปัญหา
2.1.2. 2. วางแผน
2.1.3. 3. แก้ปัญหา
2.1.4. 4. ตรวจสอบผลลัพธ์
3. บทที่ 4 การออกแบบขั้นตอนวิธีสำหรับการแก้ปัญหา
3.1. ความหมายโดยทั่วไปของการออกแบบขั้นตอนวิธีสำหรับการแก้ปัญหา คือ “ชุดของหลักการดำเนินงานที่ถูกลำดับไว้อย่างเป็นขั้นตอน” ซึ่งหมายรวมถึงโปรแกรมคอมพิวเตอร์ทั้งหมด
4. บทที่ 5 การสร้างแผนภาพความคิด
4.1. การสร้างแผนภาพความคิดเป็นการถ่ายทอดความคิดของผู้สร้างออกมาในรูปแบบที่แบ่งหมวดหมู่ของ ข้อมูลต่างๆ แล้ว เพื่อสื่อให้ผู้อื่นเข้าใจได
4.2. แผนภาพความคิด คิดค้นขึ้นโดย Tony Buzanและถูกแนะน าให้ใช้ส าหรับการท างานต่างๆ เพื่อช่วยให้ สามารถเห็นภาพรวมของงานได้อย่างชัดเจน
5. บทที่ 1 นวัตกรรมทางเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงโลก
5.1. เทคโนโลยีในยุคโบราณ การพัฒนาเทคโนโลยีในยุคนี้อยู่ในช่วงปีคริสต์ศักราช 476 ถึงช่วงศตวรรษที่
5.1.1. เทคโนโลยีอิยิปต์โบราณ
5.1.1.1. เครื่องจักรกลและเครื่องผ่อนแรงพื ้นฐานเช่น ล้อ คานดีด คานงัด ทางลาด
5.1.1.2. กระดาษที่ทำจากต้นปาปิรัสและระบบการเขียนไฮโรกลิฟ
5.1.1.3. การสำรวจและการก่อสร้าง โดยเฉพาะตึก ศาสนสถาน และอนุสรณ์สถานขนาดใหญ
5.1.2. เทคโนโลยีจีนโบราณ
5.1.2.1. เข็มทิศ
5.1.2.2. ดินปืน
5.1.2.3. การทำกระดาษ
5.1.2.4. การพิมพ์
5.1.3. เทคโนโลยีกรีกโบราณ
5.1.3.1. โรงสีข้าวพลังน้ำ
5.1.3.2. ปั้นจั่น
5.1.3.3. นาฬิกาปลก
5.1.4. เทคโนโลยีโรมัน
5.1.4.1. การทหารและการ ผลิตอาวุธ
5.1.4.2. ถนน สะพานส่งน ้า
5.1.4.3. เขื่อน
5.1.4.4. เหมืองแร่
5.1.4.5. ระบบการสุขาภิบาล
5.2. เทคโนโลยีในยุคกลางของยุโรป เทคโนโลยียุโรปในยุคกลางตั ้งแต่ศตวรรษที่ 12 ถึง ศตวรรษที่ 14
5.2.1. ปืนใหญ่ Pumhart von Steyr ในสมัยศตวรรษที่ 15
5.2.2. โรงสีที่ใช้พลังงานจากลมในสเปนที่ใช้เทคโนโลยีจากยุคกลาง
5.2.3. การอ่านหนังสือโดยใช้แว่นตาในยุคปี 1466
5.2.4. เครื่องพิมพ์ในช่วงปลายยุคของยุโรปสมัยกลางที่มีความสามารถในการพิมพ์ได้กว่า 3600 หน้าต่อวัน
5.2.5. หนังสือพิมพ์ในยุคแรก
5.3. เทคโนโลยีในยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาในยุโรป ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาในยุโรปในช่วงศตวรรษที่ 14 ถึง 16 เป็นช่วงที่เทคโนโลยีในด้านสถาปัตยกรรมและการก่อสร้าง วิศวกรรมเครื่องกลและโลหการมีความก้าวหน้าเป็นอย่างมาก
5.3.1. การสร้างเตาหลอมโลหะและการขึ ้นรูปโลหะ
5.3.2. การพัฒนากลไกข้อเหวี่ยงและก้านสูบที่ก้าวหน้า
5.3.3. เทคโนโลยีเพื่อการก่อสร้างขนาดใหญ่ เช่นอู่ลอยเพื่อซ่อมเรือขนาดใหญ่ และหอคอยยก
5.4. เทคโนโลยีในยุคปฏิวัติอุตสาหกรรมยุคแรก การปฏิวัติอุตสาหกรรรมเป็นการเปลี่ยนกระบวนการผลิตและเทคโนโลยีไปสู่รูปแบบใหม่ มีช่วงระยะเวลาอยู่ในช่วงปี คริสต์ศักราช 1760 ถึง 1840
5.4.1. เครื่องจักรไอน ้าประสิทธิภาพสูง
5.4.2. เครื่องปั่นด้าย
5.4.3. สะพานเหล็กในยุคปฏิวัติอุตสาหกรรม
5.5. เทคโนโลยีในยุคปฏิวัติอุตสาหกรรมยุคที่สอง ในยุคศตวรรษที่ 19 การพัฒนาเทคโนโลยีทางด้านการขนส่ง การก่อสร้าง การผลิต และการสื่อสาร เป็นไปอย่างรวดเร็วมาก โดยการพัฒนาเทคโนโลยีเหล่านี้มาจากทางฝั่งยุโรปเป็นหลัก
5.5.1. เครื่องจักรกลในการทำสกร
5.5.2. รถยนต์ Motorwagen Nr. 3
5.5.3. เรือ Great Britain
5.6. เทคโนโลยีในศตวรรษที่ 20 บัณฑิตยสถานด้านวิศวกรรมของสหรัฐอเมริกา (US National Academy of Engineering) ได้เลือกเทคโนโลยีที่มีผลกระทบต่อ โลกอย่างมากในศตวรรษที่ 20
5.6.1. การผลิตและส่งจ่ายพลังงานไฟฟ้า
5.6.2. รถยนต์
5.6.3. เครื่องบิน
5.6.4. อิเลคโทรนิคส์
5.6.5. การประปา
5.6.6. วิทยุ และโทรทัศน์
5.6.7. เครื่องจักรกลการเกษตร
5.6.8. การปรับอากาศและการท าความเย็น
5.6.9. คอมพิวเตอร์
5.6.10. อินเตอร์เนต