Get Started. It's Free
or sign up with your email address
Logical Thinking by Mind Map: Logical Thinking

1. บทที่ 4 การออกแบบขั้นตอนวิธีสำหรับการแก้ปัญหา

1.1. การแทนข้อมูล

1.1.1. การแทนข้อมูล หรือ Data Representation ในทางคอมพิวเตอร์ คือการแทนข้อมูลด้วยเลขฐานสอง โดยมีค่าได้เพียงสองค่า คือ 0 หรือ 1 เท่านั้น ส าหรับคอมพิวเตอร์ เลข 0 และ 1 มีความหมายที่พิเศษ

1.2. เลขฐาน

1.2.1. เลขฐานสิบ • มีตัวเลขทั้งหมด 10 ตัว คือ 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 • น าตัวเลขทั้ง 10 ตัวมาประกอบเรียงต่อกันเพื่อเป็น จ านวนที่เพิ่มขึ้น

1.2.2. เลขฐานสิบหก • มีตัวเลขทั้งหมด 10 ตัว คือ 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 และตัวอักษรภาษาอังกฤษ 6 ตัว คือ A B C D E F • น าตัวเลขทั้ง 10 ตัวและ ตัวอักษรทั้ง 6 ตัวมาประกอบ เรียงต่อกันเพื่อเป็นจ านวนที่เพิ่มขึ้น

1.2.3. เลขฐานแปด • มีตัวเลขทั้งหมด 8 ตัว คือ 0 1 2 3 4 5 6 7 • น าตัวเลขทั้ง 8 ตัวมาประกอบเรียงต่อกันเพื่อเป็น จ านวนที่เพิ่มขึ้น

1.2.4. เลขฐานสอง • มีตัวเลขทั้งหมด 2 ตัว คือ 0 และ 1 • น าตัวเลขทั้ง 2 ตัวมาประกอบเรียงต่อกันเพื่อเป็น จ านวนที่เพิ่มขึ้น

2. บทที่ 5 การสร้างแผนภาพความคิด

2.1. แผนภาพความคิดคืออะไร

2.1.1. “แผนภาพความคิด” หรือ Mind map คือ การถ่ายทอดความคิดหรือการน าเสนอการสรุป ข้อมูล โดยการใช้ภาพ สี เส้น และการโยงใยแทน การจดย่อแบบเดิม

2.2. ขั้นตอนการสร้างแผนภาพความคิด

2.2.1. เตรียมกระดาษเปล่าและปากกาหรือดินสอสีอย่างน้อย 3 สี • คิดถึงหัวเรื่องส าคัญที่ต้องการถ่ายทอดหรือสรุป • เริ่มต้นสร้าง Mind Map ด้วยการเขียนภาพหรือสัญลักษณ์ หรือ ด้วยการเขียนเป็นค าเดียวหรือข้อความ ของหัวข้อของ เรื่องที่ต้องการถ่ายทอดลงในกระดาษ (ควรเขียนเป็นค า ส าคัญ (Key Word) ) • เริ่มแตกหมวดหมู่หรือหัวข้อย่อยออกมาจากศูนย์กลาง ทั้งนี้ ไม่ควรเกิน 8 กิ่งย่อย • ท าให้เด่น เช่น การล้อมกรอบ หรือใส่กล่อง และตกแต่ง เพิ่มเติมตามความพอใจ

2.3. ประโยชน์ของแผนภาพความคิด

2.3.1. คิดอย่างเป็นระบบ •เห็นภาพรวมของสิ่งที่สนใจ •จ าองค์ประกอบในเรื่องนั้นได้ดีขึ้น •ใช้วางแผนในการท างานได้เนื่องจากเห็น ล าดับและความสัมพันธ์ของงาน •ช่วยในการตัดสินใจอย่างเป็นระบบมากขึ้น

3. บทที่ 1 นวัตกรรมทางเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงโลก

3.1. นวัตกรรมคืออะไร

3.1.1. นวัตกรรม คือ การสร้างหรือการนำสิ่งใหม่ๆ เข้ามาเปลี่ยนแปลงเพิ่มเติมจากวิธีการที่ทำอยู่เดิม ตลอดจน การพัฒนาต่อยอด การเปลี่ยนแปลง ประยุกต์ที่มีความใหม่ที่เห็นได้อย่างชัดเจนและเพิ่มมูลค่าให้สิ่งต่างๆ

3.1.2. นวัตกรรมทางเทคโนโลยี การนำความรู้ทักษะ และทรัพยากรทางเทคโนโลยีมาสร้างสิ่งใหม่ๆ หรือประยุกต์จากของเดิมซึ่งเป็นการเพิ่มมูลค่า และมีความแตกต่างจากเดิมอย่างเห็นได้ชัด

3.1.3. รูปแบบหนึ่งของการคิดเชิงตรรกะที่พวกเราฝึกฝนมา ตั้งแต่ชั้นมัธยม คือ ตรรกศาสตร์

3.2. เทคโนโลยีคืออะไร

3.2.1. การนำความรู้ทางวิทยาศาสตร์ แนวคิด หลักการ ตลอดจนผลิตผลทางวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้ในระบบงานต่างๆ เพื่อปรับปรุงระบบงานนั้นๆ ให้ดีขึ้น และมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

3.3. เทคโนโลยีในปัจจุบัน ตัวอย่างนวัตกรรม

3.3.1. โดรน

3.3.2. Internet of thing

3.3.3. โฮโลแกรม

3.3.4. รถไร้คนขับ

3.3.5. Virtual Reality

4. บทที่ 2 ขั้นตอนการคิดและการแก้ปัญหาเชิงตรรกะ

4.1. กระบวนการคิดอย่างมีเหตุผล

4.1.1. 1. การระบุปัญหาที่แท้จริง 2. ระบุสาเหตุที่อาจท าให้เกิดปัญหา ปัญหาใดปัญหาหนึ่ง 3. การเก็บรวบรวมข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล 4. ประเมินสาเหตุที่เป็นไปได้มากที่สุด 5. ระบุแนวทางแก้ไข 6. ตรวจสอบและประเมินผล

4.2. เทคนิคส าหรับการคิดแบบมีเหตุมีผล

4.2.1. 1. การเปิดกว้าง (ยอมรับข้อมูลใหม่ ๆ ที่เข้ามาเสมอ) 2. กล้าเปลี่ยนจุดยืน (กล้ายอมรับ + การเปลี่ยนแปลง) 3. การหาเหตุผลและการให้เหตุผล (จะน าไปสู่การสรุปข้อมูล โดยมี เครื่องมือที่ใช้ คือ การวิเคราะห์) 4. มุมมอง (การพิจารณาทุกแง่มุมของปัญหา) 5. การวางตัวเป็นกลาง (ต้องระวังไม่ให้ถูกชักน าไปทางข้างใดข้างหนึ่ง) 6. การตั้งค าถาม (ท าให้ทราบ + เข้าใจรายละเอียดได้อย่างครบถ้วน)

4.3. รูปแบบหนึ่งของการคิดเชิงตรรกะ

4.3.1. ตรรกศาสตร์ประกอบด้วยองค์ประกอบหลัก 2 ส่วน – ประพจน์ – เครื่องหมายด าเนินการ

5. บทที่ 3 การวิเคราะห์ปัญหาและการแทนข้อมูล

5.1. การวิเคราะห์ปัญหา

5.1.1. เข้าใจปัญหา • อ่านปัญหาอย่างรอบครอบ จนมั่นใจว่าเข้าใจอย่างชัดเจน • ถามข้อมูลเพิ่มเติมที่เป็นประโยชน์ในการแก้ปัญหา • ขีดเส้นใต้ค าที่ไม่คุ้นเคย หรือสิ่งที่แปลกใหม่ • แยกให้ออกว่าส่วนใดคือสิ่งส าคัญ • ร่างการแก้ปัญหา

5.1.2. วางแผน • อาจวางแผนคนเดียว หรือมีผู้อื่นร่วมด้วย • มีแนวทางส าหรับการวางแผน หน้า | 8 - วาดลงกระดาษ เป็นตาราง - จ าลองสถานการณ์ ท าให้เป็นรูปธรรม - เรียงล าดับแยกส่วนที่เหมือนและต่าง ออกจากกัน

5.1.3. การแก้ปัญหา • จดบันทึกความคิดขณะท าตามแผน • ท างานอย่างเป็นระบบ • ถ้าการแก้ปัญหาติดขัด กลับไปเริ่มที่ Step1 ใหม่

5.1.4. ตรวจสอบผลลัพธ์ • พิจารณาค าตอบว่าตรงกับที่ปัญหาต้องการไหม • เขียนสิ่งที่คิดเป็นขั้นตอน เป็นประโยชน์ในการทบทวน • ลองตั้งค าถามกับปัญหาที่เจอ • ทดลองท าให้การแก้ปัญหานั้นง่ายขึ้น