เศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy)
by Pornchita K.
1. เงื่อนไขความรู้
1.1. มีความรู้เกี่ยวกับสิ่งต่างๆรอบตัว
1.2. มั่นใฝ่หาความรู้ตลอดเวลา
2. ความมีเหตุผล
2.1. ตัดสินใจทำการใด ต้องมีเหตุผลที่ต้องทำเสมอ
3. การลดความเหลื่อมล้ำทางสังคม
3.1. การบริหารราชการแผ่นดินที่มีประสิทธิภาพ
3.1.1. พัฒนาบุคลากรภาครัฐให้มีความเป็นมืออาชีพและเพียงพอ
3.1.2. สร้างระบบตรวจสอบและประเมินผลที่มีประสิทธิภาพ
3.2. รายได้และสร้างโอกาสในการประกอบอาชีพ
3.3. จัดบริการทางสังคมให้ทุกคนตามสิทธิขั้นพื้นฐาน
3.4. เข้าถึงกระบวนการยุติธรรมอย่างเสมอภาค
4. คุณลักษณะของหลักเศรษฐกิจพอเพียง
5. การพัฒนาศักยภาพคนตามช่วงวัย
5.1. ให้การศึกษาอย่างเท่าเทียมและทั่วถึง
5.2. ส่งเสริมและพัฒนาเกี่ยวกับเรื่องสุขภาพและพัฒนานวัตกรรมทางการแพทย์
5.3. สนับสนุนและพัฒนาศักยภาพแก่คนทุกช่วงวัย
6. แนวทางการพัฒนา
7. ความพอประมาณ
7.1. มีความพอดี พอเพียง ไม่ฟุ้มเฟือย
8. การยกระดับศักยภาพการแข่งขัน
8.1. มีการสร้างนักพัฒนา และนักวิจัยที่มีคุณภาพ
8.2. มีพัฒนาเทคโนโลยี และนวัตกรรรมให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
9. การรองรับการเชื่อมโยงภูมิภาคและความเป็นเมือง
9.1. ลงทุนด้านโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอำนวยความสะดวกของเมือง
9.2. ส่งเสริมการลงทุน การค้าชายแดน และจัดตั้งเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ
10. คือ ปรัชชาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงชี้แนวทางชีวิตแก่ปวงชนชาวไทย เพื่อให้ใช้ชีวิตอย่างพอเพียง พอดี มีความมั่นคง มีภูมิคุ้มกันที่ดี เนื่องจากมีความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ
11. มีคุณธรรม
11.1. มีความซื่อสัตย์
11.2. มีความอดทน
11.3. มีสติ ตระหนักเสมอก่อนทำการใดๆ
12. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12
12.1. เป้าหมาย
12.1.1. ลดความเลื่อมล้ำทางสังคม
12.1.2. หลุดพ้นจากกลุ่มประเทศรายได้ปานกลางสู่กลุ่มประเทศที่มีรายได้สูง
12.1.3. สร้างความเจริญทางเศรษฐกิจและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
12.1.4. สร้างความมั่นคงและยั่งยืนให้แก่ประเทศ
13. เงื่อนไข
14. เศรษฐกิจพอเพียงคืออะไร?
15. หลักของเศรษฐกิจพอเพียง
15.1. มีภูมิคุ้มกันที่ดี
15.1.1. มีการเตรียมความพร้อมหากเกิดเหตุการณ์ใด และสามารถที่จะแก้ไขปัญหานั้นได้