การสื่อสารทางคณิตศาสตร์

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การสื่อสารทางคณิตศาสตร์ by Mind Map: การสื่อสารทางคณิตศาสตร์

1. องค์ประกอบของการสื่อสาร

1.1. Emori (1993)

1.1.1. กระบวนการสื่อสารในการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เป็นกระบวนการที่ไม่หยุดนิ่งเพื่อการปฏิสัมพันธ์เชิงสังคมระหว่างผู้เข้าร่วม และมันมีการพัฒนาไปพร้อม กับทางเลือกในการแลกเปลี่ยนสารสนเทศและการปิดช่องว่างในการสื่อสาร มันเป็นกระบวนการ พิจารณาตัดสินโดยอัตโนมัติ

1.2. Emori (1997)

1.2.1. เป็นกระบวนการที่สร้าง ขอบเขตความเข้าใจร่วม (Consensus Domain) ด้วยเมนทอลสเปซ (Mental Space) ของผู้เข้าร่วม สื่อสาร การศึกษาการสื่อสารทางคณิตศาสตร์อาศัยโมเดลพื้นฐาน 2 โมเดล คือ โมเดลการเข้ารหัส (Code Model) และโมเดลการอ้างอิง (Inferential Model)

1.3. Sperber & Wilson

1.3.1. สาร (Messages) ประกอบด้วยชิ้นส่วนของความรู้คณิตศาสตร์ และชิ้นส่วนของความรู้อื่นๆ โดยถูกจดจำไว้ในรูปเซตของความรู้ที่มีลักษณะเชื่อมโยงเป็นห่วงโซ่ แต่ละชิ้นส่วน ความรู้มีความเกี่ยวข้องและสัมพันธ์กัน

2. ห่วงโซ่การสื่อสาร

2.1. ห่วงโซ่การสื่อสารแบบประสาน

2.2. ห่วงโซ่การสื่อสารแบบเท่าเทียมกัน

2.3. ห่วงโซ่การสื่อสารแบบผู้รับเหนือกว่า

2.4. ห่วงโซ่การสื่อสารแบบเหนือความคาดหมาย