แนวคิดทางพิษวิทยา (Toxicological concepts)

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
แนวคิดทางพิษวิทยา (Toxicological concepts) by Mind Map: แนวคิดทางพิษวิทยา (Toxicological concepts)

1. ประเภทและชนิดของสารพิษ

1.1. แบ่งตามการออกฤทธิ์ กลไกการเกิดพิษ

1.1.1. สารพิษก่อมะเร็ง

1.1.1.1. ร่างการไม่สามารถควบคุมการเจริญเติบโตได้

1.1.1.2. ตัวแทนกลุ่มวิจัยโรคมะเร็ง (IARC : International Agency for Reseach on Cancer) ขององค์การอนามัยโลก (WHO : World health organixation

1.1.1.2.1. จำแนกกลุ่มสารก่อมะเร็ง

1.1.1.2.2. สาร TCDD

1.1.2. สารพิษต่อการเกิดโรควิรูป

1.1.3. สารก่อภูมิแพ้

1.1.4. สารพิษต่อหัวใจ หลอดเลือด และระบบหมุนเวียนโลหิต

1.1.5. สารพิษต่อตับ

1.1.6. สารพิษต่อไต

1.1.7. สารพิษต่อผิวหนัง

1.1.8. สารพิษต่อระบบทางเดินหายใจ

1.1.9. สารพิษต่อระบบประสาท

1.1.10. สารพิษต่อระบบสืบพันธุ์

1.1.11. สารพิษต่อต่อมไร้ท่อ

2. ลักษณะการได้รับสารพิษ

2.1. ปัจจัยที่ส่งผลต่อปริมาณสารพิษที่อยู่ในร่างกาย

2.1.1. ต่ำแหน่ง

2.1.1.1. การกิน การหายใจ การสัมผัส

2.1.2. ระยะเวลาและความถี่ของการได้รับสารพิษ

2.1.2.1. การได้รับสารพิษแบบเฉียบพลัน Acute exprosure

2.1.2.2. กึ่งเฉียบพลัน (Subacute exprosure)

2.1.2.3. กึ่งเรื้อรง (Subchronic exprosure)

2.1.2.4. แบบเรื้อรัง (Chronic exposure)

3. การตอบสนองของร่างการต่อสารพิษ

3.1. ภูมิแพ้

3.2. ลักษณะเฉพาะตัว

3.3. เกิดพิษทันทีที่ได้รับสาร

3.4. เกิดพิษแล้วเนื้อเยื่อกลับสู่สภาวะปกติ

3.5. การเกิดพิษเฉพาะที่

3.6. เมื่อได้รับสารพิษหลายชนิดพร้อมกัน

3.6.1. สนองแบบผลรวมของการออกฤทธิ์

3.6.2. แบบเสริมฤทธิ์

3.6.3. แบบเพิ่มฤทธิ์

3.6.4. แบบยับยั้งการออกฤทธิ์

4. ความเป็นพิษขึ้นกับ

4.1. คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมีของสารพิษ หรือสารที่ปป.โครงสร้างของสารพิษ (Metabolite)

4.2. ค.ขข.และระยะเวลาของสารพิษ

4.3. กลไกการตอบสนองของร่างกายต่อสารพิษ

5. การเกิดพิษขึ้นกับกระบวนการ

5.1. พิษวิทยาจลนศาสตร์ (Kinetics)

5.1.1. กระบวนการที่สารเข้าสู่เนื้อเยื่อและกระแสเลือด ผ่านกระบวนการ ดังนี้

5.1.1.1. absorption

5.1.1.2. Distribution

5.1.1.3. Metabolism

5.1.1.4. Excretion

5.1.2. การแสดงสารพิษเมื่อเข้าสู่ร่างกาย

5.1.2.1. การนำพาสารสู่เนื้อเยื่อและtarget

5.1.2.2. ทำปฏิกิริยาต่อ target

5.1.2.3. ก.ปป.สภาพแวดล้อมทางชีวภาพ

5.1.2.4. ความผิดปกติของเซลล์

5.1.2.5. ซ่อมแซมเมื่อผิดปกติ

5.2. พิษวิทาพลวัตศษสตร์ (Toxicodynamics)

5.2.1. การเกิดปฎิกิริยาหรือการออกฤทธิ์ของสารพิษต่อเซลล์เป้าหมาย

5.3. ปัจจัยการเกิดพิษ

5.3.1. ตัวสารเคมี

5.3.2. ส่วนที่รับสัมผัส

5.3.3. ขนาด/ปริมาณ

5.3.4. ระยะเวลาที่ได้รับ

5.3.5. สารพิษแบบช้า

5.3.6. แพ้พิษ

5.3.7. สารเคมีผลม